กิจกรรมการพยาบาลและปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูงในผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะ
ภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูงในผู้ป่วยหลังได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะเป็นภาวะแทรกซ้อน ที่สำคัญและพบบ่อย ซึ่งอาจทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิต พิการ ทุพพลภาพอย่างชั่วคราวหรือถาวร จาก การทบทวนวรรณกรรมพบว่า การปฏิบัติกิจกรรมพยาบาลบางกิจกรรม ส่งผลให้ความดันใน กะโหลกศีรษะในผู้ป่วยหลังได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะเพิ่มสูงขึ้น...
Saved in:
Main Authors: | , , , , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
2020
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/52536 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.52536 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
บาดเจ็บที่ศีรษะ การจัดท่า การดูดเสมหะ การสวมอุปกรณ์พยุงคอชนิดแข็ง ภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง Head injury, Positioning Endotrachel suction Cervical collar Intracranial pressure |
spellingShingle |
บาดเจ็บที่ศีรษะ การจัดท่า การดูดเสมหะ การสวมอุปกรณ์พยุงคอชนิดแข็ง ภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง Head injury, Positioning Endotrachel suction Cervical collar Intracranial pressure อุษา พงษ์เลาหพันธ์ุ ศุภร วงศ์วทัญญู กุสุมา คุววัฒนสัมฤทธิ์ Usa Ponglaohapun Suporn Wongwatunyu Kusuma Khuwatsamrit กิจกรรมการพยาบาลและปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูงในผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะ |
description |
ภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูงในผู้ป่วยหลังได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะเป็นภาวะแทรกซ้อน
ที่สำคัญและพบบ่อย ซึ่งอาจทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิต พิการ ทุพพลภาพอย่างชั่วคราวหรือถาวร จาก
การทบทวนวรรณกรรมพบว่า การปฏิบัติกิจกรรมพยาบาลบางกิจกรรม ส่งผลให้ความดันใน
กะโหลกศีรษะในผู้ป่วยหลังได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะเพิ่มสูงขึ้น การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
รวบรวม ประเมิน วิเคราะห์ และสังเคราะห์องค์ความรู้จากงานวิจัยเกี่ยวกับกิจกรรมการพยาบาล
และปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูงในผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะตั้งแต่ปี
ค.ศ.1980 จนถึงปี ค.ศ.2008 จากหลักฐานเชิงประจักษ์ 26 เรื่อง เมื่อนำมาแบ่งตามระดับ
ความน่าเชื่อถือทางคลินิก พบว่าเป็นงานวิจัยระดับ A จำนวน 3 เรื่อง ระดับ B จำนวน 19 เรื่อง
และระดับ C จำนวน 4 เรื่อง ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่มีผลทำให้ความดันในกะโหลกศีรษะ
เพิ่มสูงขึ้น ได้แก่ การจัดท่าและพลิกตะแคงตัว (ท่านอนศีรษะต่ำ ท่านอนเกือบคว่ำ หรือท่า
ศีรษะและคอก้มหรือบิดหมุนซ้ายขวา) การดูดเสมหะที่กระตุ้นให้ผู้ป่วยไอ การเพิ่มการระบาย
อากาศ หรือการดูแลความสะอาดร่างกาย รวมทั้งการสวมอุปกรณ์พยุงคอชนิดแข็งในผู้ป่วยที่
สงสัยมีการบาดเจ็บกระดูกสันหลัง ในทางตรงข้าม กิจกรรมการพยาบาลที่ลดความเสี่ยงต่อการ
เกิดภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง ประกอบด้วย การจัดท่านอนศีรษะสูง 30 องศาโดย
ศีรษะและคออยู่ในแนวเดียวกัน ไม่ก้มหรือบิดหมุน การให้ออกซิเจน 100 % ก่อนและหลังดูด
เสมหะ การลดผลกระทบของการสวมอุปกรณ์พยุงคอชนิดแข็ง และการวางแผนปฏิบัติการพยาบาล
อย่างเป็นระบบ การศึกษานี้มีประโยชน์สำหรับพยาบาลในการใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติการ
พยาบาลสำหรับผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะระดับปานกลางถึงรุนแรง ระยะ 24-72 ชั่วโมงแรก ซึ่ง
เป็นระยะที่เสี่ยงต่อการเกิดความดันในกะโหลกศีรษะสูง |
author2 |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาพยาบาลศาสตร์ |
author_facet |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาพยาบาลศาสตร์ อุษา พงษ์เลาหพันธ์ุ ศุภร วงศ์วทัญญู กุสุมา คุววัฒนสัมฤทธิ์ Usa Ponglaohapun Suporn Wongwatunyu Kusuma Khuwatsamrit |
format |
Article |
author |
อุษา พงษ์เลาหพันธ์ุ ศุภร วงศ์วทัญญู กุสุมา คุววัฒนสัมฤทธิ์ Usa Ponglaohapun Suporn Wongwatunyu Kusuma Khuwatsamrit |
author_sort |
อุษา พงษ์เลาหพันธ์ุ |
title |
กิจกรรมการพยาบาลและปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูงในผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะ |
title_short |
กิจกรรมการพยาบาลและปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูงในผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะ |
title_full |
กิจกรรมการพยาบาลและปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูงในผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะ |
title_fullStr |
กิจกรรมการพยาบาลและปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูงในผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะ |
title_full_unstemmed |
กิจกรรมการพยาบาลและปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูงในผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะ |
title_sort |
กิจกรรมการพยาบาลและปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูงในผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะ |
publishDate |
2020 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/52536 |
_version_ |
1763497743448276992 |
spelling |
th-mahidol.525362023-03-30T15:39:20Z กิจกรรมการพยาบาลและปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูงในผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะ Nursing Activities and Factors Related to Increased Intracranial Pressure in Head Injured Patients อุษา พงษ์เลาหพันธ์ุ ศุภร วงศ์วทัญญู กุสุมา คุววัฒนสัมฤทธิ์ Usa Ponglaohapun Suporn Wongwatunyu Kusuma Khuwatsamrit มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาพยาบาลศาสตร์ บาดเจ็บที่ศีรษะ การจัดท่า การดูดเสมหะ การสวมอุปกรณ์พยุงคอชนิดแข็ง ภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง Head injury, Positioning Endotrachel suction Cervical collar Intracranial pressure ภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูงในผู้ป่วยหลังได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะเป็นภาวะแทรกซ้อน ที่สำคัญและพบบ่อย ซึ่งอาจทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิต พิการ ทุพพลภาพอย่างชั่วคราวหรือถาวร จาก การทบทวนวรรณกรรมพบว่า การปฏิบัติกิจกรรมพยาบาลบางกิจกรรม ส่งผลให้ความดันใน กะโหลกศีรษะในผู้ป่วยหลังได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะเพิ่มสูงขึ้น การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ รวบรวม ประเมิน วิเคราะห์ และสังเคราะห์องค์ความรู้จากงานวิจัยเกี่ยวกับกิจกรรมการพยาบาล และปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูงในผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะตั้งแต่ปี ค.ศ.1980 จนถึงปี ค.ศ.2008 จากหลักฐานเชิงประจักษ์ 26 เรื่อง เมื่อนำมาแบ่งตามระดับ ความน่าเชื่อถือทางคลินิก พบว่าเป็นงานวิจัยระดับ A จำนวน 3 เรื่อง ระดับ B จำนวน 19 เรื่อง และระดับ C จำนวน 4 เรื่อง ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่มีผลทำให้ความดันในกะโหลกศีรษะ เพิ่มสูงขึ้น ได้แก่ การจัดท่าและพลิกตะแคงตัว (ท่านอนศีรษะต่ำ ท่านอนเกือบคว่ำ หรือท่า ศีรษะและคอก้มหรือบิดหมุนซ้ายขวา) การดูดเสมหะที่กระตุ้นให้ผู้ป่วยไอ การเพิ่มการระบาย อากาศ หรือการดูแลความสะอาดร่างกาย รวมทั้งการสวมอุปกรณ์พยุงคอชนิดแข็งในผู้ป่วยที่ สงสัยมีการบาดเจ็บกระดูกสันหลัง ในทางตรงข้าม กิจกรรมการพยาบาลที่ลดความเสี่ยงต่อการ เกิดภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง ประกอบด้วย การจัดท่านอนศีรษะสูง 30 องศาโดย ศีรษะและคออยู่ในแนวเดียวกัน ไม่ก้มหรือบิดหมุน การให้ออกซิเจน 100 % ก่อนและหลังดูด เสมหะ การลดผลกระทบของการสวมอุปกรณ์พยุงคอชนิดแข็ง และการวางแผนปฏิบัติการพยาบาล อย่างเป็นระบบ การศึกษานี้มีประโยชน์สำหรับพยาบาลในการใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติการ พยาบาลสำหรับผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะระดับปานกลางถึงรุนแรง ระยะ 24-72 ชั่วโมงแรก ซึ่ง เป็นระยะที่เสี่ยงต่อการเกิดความดันในกะโหลกศีรษะสูง Increased intracranial pressure is a major complication found in post head injured patients that can cause death or temporary or permanent disability. The literature review undertaken in this thematic paper shows that some nursing activities can increase intracranial pressure. The objectives of this study were to gather, evaluate, analyze and synthesize knowledge from research studies on nursing activities and factors related to increased intracranial pressure in head injured patients. Of 26 empirical studies which published from 1980 to 2008, three studies were classified as Level A, 19 as Level B, and 4 as Level C according to their level of clinical reliability. Regarding results of the study, factors causing the increased intracranial pressure are positioning and turning (i.e., head down, semi-prone, neck flexion, or rotation to the left or to the right side), endotracheal suction, which stimulates patients’ coughing, hyperventilation, hygiene care, and putting the patient in a rigid cervical collar. On the contrary, nursing activities which reduce the risk of increased intracranial pressure are 30 degrees of head elevation in which head and neck are aligned in the neutral position without neck flexion, hyperextension, or rotation, using of 100 % hyperoxygenation prior to and following suctioning, reducing the effect of using the cervical collar and having well-organized nursing care. This study is beneficial for nurses to use as a nursing intervention for caring patients with moderate to severe head injury within the period 24-72 hours after the injury; the patients in this period of time are considered at risk for increased intracranial pressure. 2020-02-20T03:52:23Z 2020-02-20T03:52:23Z 2563-02-20 2552 Article รามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 15, ฉบับที่ 2 (พ.ค.-ส.ค. 2552), 221-232 0858-9739 (Print) 2672-9784 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/52536 tha มหาวิทยาลัยมหิดล ภาควิชาพยาบาลศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf |