กระบวนการเสริมสร้างจิตสำนึกของบุคลากรและนักศึกษาคณะเทคนิคการแพทย์ ด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม

การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาแบบมีส่วนร่วม (Participation Action Research) เพื่อสะท้อนกระบวนการ ดำเนินนโยบายด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม รวมถึงกระบวนการถอดบทเรียนให้เห็นสภาวะปัจจุบัน ของทัศนคติจิตสำนึกที่เปลี่ยนไปในการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้อง ได้แก่ นักศึกษาและบุคลากรของคณะเทคนิค การแพทย...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ชาตรี ลุนดำ, กุลธิดา โพธิ์แดง, พรรษชล สมิติวัณฑิกุล, ธนพัฒน์ นพโสภณ, ศิริอร มโนมัธยา, Chatree Lundammrs, Kuntida Podangms, Patshachon Samitiwantikul, Thanapat Nopsopon, Siro-On Manomuttaya
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะเทคนิคการแพทย์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2020
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/53955
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.53955
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic จิตสำนึกอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม
นักทรัพยากรบุคคล
เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป
นายช่างอิเล็กทรอนิกส์
นักวิชาการโสตทัศนศึกษา
spellingShingle จิตสำนึกอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม
นักทรัพยากรบุคคล
เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป
นายช่างอิเล็กทรอนิกส์
นักวิชาการโสตทัศนศึกษา
ชาตรี ลุนดำ
กุลธิดา โพธิ์แดง
พรรษชล สมิติวัณฑิกุล
ธนพัฒน์ นพโสภณ
ศิริอร มโนมัธยา
Chatree Lundammrs
Kuntida Podangms
Patshachon Samitiwantikul
Thanapat Nopsopon
Siro-On Manomuttaya
กระบวนการเสริมสร้างจิตสำนึกของบุคลากรและนักศึกษาคณะเทคนิคการแพทย์ ด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม
description การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาแบบมีส่วนร่วม (Participation Action Research) เพื่อสะท้อนกระบวนการ ดำเนินนโยบายด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม รวมถึงกระบวนการถอดบทเรียนให้เห็นสภาวะปัจจุบัน ของทัศนคติจิตสำนึกที่เปลี่ยนไปในการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้อง ได้แก่ นักศึกษาและบุคลากรของคณะเทคนิค การแพทย์ เพื่อนำไปสู่การเสริมสร้างแนวทางการเป็นต้นแบบแห่งการอนุรักษ์พลังงานและธรรมชาติ ให้เกิดจากการอยู่ร่วมกันอย่างสมดุล นอกจากนี้ ยังเป็นการสนับสนุนพันธกิจของคณะฯ ตามเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ด้านที่ 5 : มุ่งสู่การเป็นสถาบันการเรียนรู้ที่มีชีวิตชีวา และยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ด้านที่ 7 Harmony ความกลมกลืนในความหลากหลาย ในการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษากระบวนการเสริมสร้างการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมของคณะเทคนิคการแพทย์ 2) เพื่อศึกษาทัศนคติเกี่ยวกับกระบวนเสริมสร้างการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมของบุคลากรและนักศึกษาคณะเทคนิคการแพทย์ โดยแบ่งวิธีการศึกษาออกเป็น 2 ส่วน คือ 1) ศึกษาวิเคราะห์กระบวนการดำเนินงานเพื่อเสริมสร้างจิตสำนึกด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมของคณะเทคนิคการแพทย์ โดยเก็บรวบรวมข้อมูลหน่วยการใช้พลังงาน ได้แก่ ไฟฟ้ า น้ำประปา น้ำมัน และกระดาษ รวมถึงการจัดการขยะ และนำข้อมูลการจัดการไปใช้ในการเปรียบเทียบให้เห็นปริมาณการใช้พลังงานในแต่ละปีงบประมาณ (พ.ศ. 2554-2555) 2) ศึกษาในเชิงคุณภาพ โดยสุ่มสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างเพื่อการสะท้อนกลับข้อมูลโดยมีเกณฑ์การคัดเลือกคือ 1) คัดเลือกจากตัวแทนอ้างอิงของนักศึกษาและบุคลากรที่ครอบคลุมและเชื่อถือได้ 2) คัดเลือกจากตัวแทนทีที่ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการดำเนินการด้านนโยบายและผลักดันการปฏิบัติการ ผลการศึกษาพบว่า การดำเนินนโยบายด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมของคณะเทคนิคการแพทย์ ได้ถูกนำไปปฏิบัติอย่างจริงจัง โดยมีกลไกหลักที่สำคัญอยู่ 2 ประการ คือ 1) มีผู้บริหารมุ่งมั่นในการสื่อสารและสนับสนุนตระหนักต่อการอนุรักษ์พลังงานและมุ่งสู่การเป็นต้นแบบของสถาบันการเรียนรู้ที่มีชีวิตชีวา 2) การเกิดเครือข่ายทีมทำงานชุมชนนักปฏิบัติ (CoPs) และสามารถรองรับภาระงาน กล่าวคือ เป็นผู้ดำ เนินกิจกรรม โครงการเพื่อสร้างความตระหนักให้เกิดบรรยากาศและทัศนคติและจิตสำนึกที่มีต่อการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ซึ่งได้ดำเนินการในรูปแบบของการจัดการความรู้ภายในทีมทำงาน อีกทั้งขยายผลความสำเร็จของการดำเนินงานสู่สังคม ชุมชนใกล้เคียง เช่น เครือข่ายโรงเรียนในชุมชนตำบลคลองโยง และชุมชนตำบลบางแก้วฟ้า จังหวัดนครปฐม นอกจากนี้ การจัดการเรียนการสอนให้กับนักศึกษาของคณะเทคนิคการแพทย์ ชั้นปีที่ 1 ในรายวิชา Transformative Learning เช่น กิจกรรมสมุดทำมือ เป็นต้น รวมถึงในกลุ่มบุคลากรอีกด้วย ในด้านผลลัพธ์ของอัตราการลดลงของปริมาณพลังงาน ไฟฟ้า น้ำประปา ของคณะฯ มีอัตราที่ลดลงอย่างต่อเนื่อง อย่างน้อยร้อยละ 3 ต่อปี ติดต่อกัน 3 ปี ซึ่งมีแนวโน้มดีขึ้น และสามารถนำข้อมูลดังกล่าวไปสื่อสารให้เกิดการรับรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้เกิดความร่วมมือของนักศึกษาและบุคลากรเพิ่มมากขึ้น
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะเทคนิคการแพทย์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะเทคนิคการแพทย์
ชาตรี ลุนดำ
กุลธิดา โพธิ์แดง
พรรษชล สมิติวัณฑิกุล
ธนพัฒน์ นพโสภณ
ศิริอร มโนมัธยา
Chatree Lundammrs
Kuntida Podangms
Patshachon Samitiwantikul
Thanapat Nopsopon
Siro-On Manomuttaya
format Article
author ชาตรี ลุนดำ
กุลธิดา โพธิ์แดง
พรรษชล สมิติวัณฑิกุล
ธนพัฒน์ นพโสภณ
ศิริอร มโนมัธยา
Chatree Lundammrs
Kuntida Podangms
Patshachon Samitiwantikul
Thanapat Nopsopon
Siro-On Manomuttaya
author_sort ชาตรี ลุนดำ
title กระบวนการเสริมสร้างจิตสำนึกของบุคลากรและนักศึกษาคณะเทคนิคการแพทย์ ด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม
title_short กระบวนการเสริมสร้างจิตสำนึกของบุคลากรและนักศึกษาคณะเทคนิคการแพทย์ ด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม
title_full กระบวนการเสริมสร้างจิตสำนึกของบุคลากรและนักศึกษาคณะเทคนิคการแพทย์ ด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม
title_fullStr กระบวนการเสริมสร้างจิตสำนึกของบุคลากรและนักศึกษาคณะเทคนิคการแพทย์ ด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม
title_full_unstemmed กระบวนการเสริมสร้างจิตสำนึกของบุคลากรและนักศึกษาคณะเทคนิคการแพทย์ ด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม
title_sort กระบวนการเสริมสร้างจิตสำนึกของบุคลากรและนักศึกษาคณะเทคนิคการแพทย์ ด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม
publishDate 2020
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/53955
_version_ 1763489535064276992
spelling th-mahidol.539552023-03-30T11:07:33Z กระบวนการเสริมสร้างจิตสำนึกของบุคลากรและนักศึกษาคณะเทคนิคการแพทย์ ด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม Awareness Raising Process of Energy and Environment Conservation among Staff and Students of the Faculty of Medical Technology ชาตรี ลุนดำ กุลธิดา โพธิ์แดง พรรษชล สมิติวัณฑิกุล ธนพัฒน์ นพโสภณ ศิริอร มโนมัธยา Chatree Lundammrs Kuntida Podangms Patshachon Samitiwantikul Thanapat Nopsopon Siro-On Manomuttaya มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะเทคนิคการแพทย์ จิตสำนึกอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม นักทรัพยากรบุคคล เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป นายช่างอิเล็กทรอนิกส์ นักวิชาการโสตทัศนศึกษา การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาแบบมีส่วนร่วม (Participation Action Research) เพื่อสะท้อนกระบวนการ ดำเนินนโยบายด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม รวมถึงกระบวนการถอดบทเรียนให้เห็นสภาวะปัจจุบัน ของทัศนคติจิตสำนึกที่เปลี่ยนไปในการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้อง ได้แก่ นักศึกษาและบุคลากรของคณะเทคนิค การแพทย์ เพื่อนำไปสู่การเสริมสร้างแนวทางการเป็นต้นแบบแห่งการอนุรักษ์พลังงานและธรรมชาติ ให้เกิดจากการอยู่ร่วมกันอย่างสมดุล นอกจากนี้ ยังเป็นการสนับสนุนพันธกิจของคณะฯ ตามเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ด้านที่ 5 : มุ่งสู่การเป็นสถาบันการเรียนรู้ที่มีชีวิตชีวา และยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ด้านที่ 7 Harmony ความกลมกลืนในความหลากหลาย ในการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษากระบวนการเสริมสร้างการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมของคณะเทคนิคการแพทย์ 2) เพื่อศึกษาทัศนคติเกี่ยวกับกระบวนเสริมสร้างการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมของบุคลากรและนักศึกษาคณะเทคนิคการแพทย์ โดยแบ่งวิธีการศึกษาออกเป็น 2 ส่วน คือ 1) ศึกษาวิเคราะห์กระบวนการดำเนินงานเพื่อเสริมสร้างจิตสำนึกด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมของคณะเทคนิคการแพทย์ โดยเก็บรวบรวมข้อมูลหน่วยการใช้พลังงาน ได้แก่ ไฟฟ้ า น้ำประปา น้ำมัน และกระดาษ รวมถึงการจัดการขยะ และนำข้อมูลการจัดการไปใช้ในการเปรียบเทียบให้เห็นปริมาณการใช้พลังงานในแต่ละปีงบประมาณ (พ.ศ. 2554-2555) 2) ศึกษาในเชิงคุณภาพ โดยสุ่มสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างเพื่อการสะท้อนกลับข้อมูลโดยมีเกณฑ์การคัดเลือกคือ 1) คัดเลือกจากตัวแทนอ้างอิงของนักศึกษาและบุคลากรที่ครอบคลุมและเชื่อถือได้ 2) คัดเลือกจากตัวแทนทีที่ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการดำเนินการด้านนโยบายและผลักดันการปฏิบัติการ ผลการศึกษาพบว่า การดำเนินนโยบายด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมของคณะเทคนิคการแพทย์ ได้ถูกนำไปปฏิบัติอย่างจริงจัง โดยมีกลไกหลักที่สำคัญอยู่ 2 ประการ คือ 1) มีผู้บริหารมุ่งมั่นในการสื่อสารและสนับสนุนตระหนักต่อการอนุรักษ์พลังงานและมุ่งสู่การเป็นต้นแบบของสถาบันการเรียนรู้ที่มีชีวิตชีวา 2) การเกิดเครือข่ายทีมทำงานชุมชนนักปฏิบัติ (CoPs) และสามารถรองรับภาระงาน กล่าวคือ เป็นผู้ดำ เนินกิจกรรม โครงการเพื่อสร้างความตระหนักให้เกิดบรรยากาศและทัศนคติและจิตสำนึกที่มีต่อการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ซึ่งได้ดำเนินการในรูปแบบของการจัดการความรู้ภายในทีมทำงาน อีกทั้งขยายผลความสำเร็จของการดำเนินงานสู่สังคม ชุมชนใกล้เคียง เช่น เครือข่ายโรงเรียนในชุมชนตำบลคลองโยง และชุมชนตำบลบางแก้วฟ้า จังหวัดนครปฐม นอกจากนี้ การจัดการเรียนการสอนให้กับนักศึกษาของคณะเทคนิคการแพทย์ ชั้นปีที่ 1 ในรายวิชา Transformative Learning เช่น กิจกรรมสมุดทำมือ เป็นต้น รวมถึงในกลุ่มบุคลากรอีกด้วย ในด้านผลลัพธ์ของอัตราการลดลงของปริมาณพลังงาน ไฟฟ้า น้ำประปา ของคณะฯ มีอัตราที่ลดลงอย่างต่อเนื่อง อย่างน้อยร้อยละ 3 ต่อปี ติดต่อกัน 3 ปี ซึ่งมีแนวโน้มดีขึ้น และสามารถนำข้อมูลดังกล่าวไปสื่อสารให้เกิดการรับรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้เกิดความร่วมมือของนักศึกษาและบุคลากรเพิ่มมากขึ้น This participation action research presents an operational policy on energy and environment conservation of the Faculty of Medical Technology and the current attitudes of the faculty staff and students towards participation in the conservation. The research findings will be used for developing the guidelines for becoming the model for energy and environment conservation through balanced co-existence between human and the nature. The research also serves the 5th strategic goal of the faculty, i.e. “Geared to become an institute for learning with vibrant liveliness” and the 7th strategy of the University of Mahidol, i.e. “Harmony in diversity”. The research objectives include: 1) To study the process of raising awareness of the energy and environment conservation of the Faculty of Medical Technology; and 2) To study the attitudes of the Faculty staff and students regarding the process of raising awareness of the energy and environment conservation. The research methodology consists of 2 parts: 1) Analysis of the process of raising awareness of energy and environment conservation of the Faculty of Medical Technology. The data was collected on energy consumption unit of electricity, water, fuel, paper and waste management and then compared between the fiscal years 2012-2013; 2) Qualitative data collection through random interview with the samples selected by the following criteria; 2.1 The samples inclusively represented the reference group of the Faculty staff and students and were reliable; 2.2 The samples were not involved with the policy making and operations on the energy and environment conservation. The research findings indicate effective implementation of the Faculty’s energy and environment conservation policy due to the following mechanism: 1) The Faculty’s Management was committed to communicating and raising awareness of energy conservation and thriving to be the model of the lively knowledge centre; 2) Communities of Practice (CoPs) were established to implement the activities of the project to raise awareness and develop the right attitudes towards energy and environment conservation. The project activities started with knowledge management within the working group and then extended to the society and neighbouring communities, such as, the school networks in TambolKlong- Yong and Tambol Bang-Kaew-Fa, Nakornpathom province. In addition, the “Transformative Learning” class was offered to the first-year students and the faculty staff, which included activities such as producing hand-made notebooks. The project result demonstrates continuing decrease in electricity and water consumption in the Faculty by the minimum of 3% per annum in the past 3 years and, potentially, beyond. This result can be shared to raise awareness and change the Faculty staff’s and students’ behaviors for better cooperation in energy and environment conservation. 2020-03-30T13:50:36Z 2020-03-30T13:50:36Z 2563-03-30 2557 Research Article วารสาร Mahidol R2R e-Journal. ปีที่ 1, ฉบับที่ 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2557), 31-45 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/53955 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf