การปฏิบัติตามสิทธิผู้ป่วยของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลจุฬาภรณ์

การวิจัยในครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ (1)ศึกษาการปฏิบัติตามสิทธิผู้ป่วยของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลจุฬาภรณ์ และ (2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะส่วนบุคคล การรับรู้บรรยากาศองค์การ และความรู้ทางกฎหมายวิชาชีพและสิทธิผู้ป่วยต่อการปฏิบัติตามสิทธิผู้ป่วยของพยาบาลวิชาชีพ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ดาริน จอมวงค์, สุธี อยู่สถาพร, ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ, วิริณธิ์ กิตติพิชัย, Darin Jomvong, Suthee Usathaporn, Chardsumon Prutipinyo, Wirin Kittipichai
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข
Format: Article
Language:Thai
Published: 2020
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/54084
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.54084
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic การปฏิบัติตามสิทธิผู้ป่วย
สิทธิผู้ป่วย
พยาบาลวิชาชีพ
patient
patient's right
registered nurse
วารสารกฎหมายสุขภาพและสาธารณสุข
Public Health & Health Laws Journal
spellingShingle การปฏิบัติตามสิทธิผู้ป่วย
สิทธิผู้ป่วย
พยาบาลวิชาชีพ
patient
patient's right
registered nurse
วารสารกฎหมายสุขภาพและสาธารณสุข
Public Health & Health Laws Journal
ดาริน จอมวงค์
สุธี อยู่สถาพร
ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ
วิริณธิ์ กิตติพิชัย
Darin Jomvong
Suthee Usathaporn
Chardsumon Prutipinyo
Wirin Kittipichai
การปฏิบัติตามสิทธิผู้ป่วยของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลจุฬาภรณ์
description การวิจัยในครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ (1)ศึกษาการปฏิบัติตามสิทธิผู้ป่วยของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลจุฬาภรณ์ และ (2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะส่วนบุคคล การรับรู้บรรยากาศองค์การ และความรู้ทางกฎหมายวิชาชีพและสิทธิผู้ป่วยต่อการปฏิบัติตามสิทธิผู้ป่วยของพยาบาลวิชาชีพ ในโรงพยาบาลจุฬาภรณ์ ทำการศึกษาจากกลุ่มตัวอย่าง พยาบาลวิชาชีพในกลุ่มงานการพยาบาลผู้ป่วยใน ผู้ป่วยนอก และ กลุ่มการพยาบาลในลักษณะพิเศษ จำนวน 140 คน โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูล ในช่วงเดือน มิ.ย. 2562 มีการทดสอบหาความเชื่อมั่นของเครื่องมือ โดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของคอนบาค เท่ากับ 0.827 และ 0.806 ตามลำดับ ทำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทำการทดสอบความสัมพันธ์ด้วยสถิติแบบไค-สแควร์ และแบบเพียร์สัน ผลการวิจัย พบว่า (1) การปฏิบัติตามสิทธิผู้ป่วยของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลจุฬาภรณ์โดยรวม อยู่ในระดับปานกลาง ( =2.945) (2) ในคุณลักษณะส่วนบุคคลของพยาบาลวิชาชีพ พบว่ามีความสัมพันธ์ระหว่าง ประสบการณ์ในการทำงานกับการปฏิบัติตามสิทธิผู้ป่วย (p=0.021) และไม่พบความสัมพันธ์ของ อายุ หน่วยงานที่ปฏิบัติงาน ระดับการศึกษา และการฝึกอบรมเฉพาะทาง ของพยาบาลวิชาชีพ กับการปฏิบัติตามสิทธิผู้ป่วย (2) ความสัมพันธ์ของการรับรู้บรรยากาศองค์การ กับการปฏิบัติตามสิทธิผู้ป่วยอยู่ในระดับต่ำ (r = 0.268)อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 และ(3) พบความสัมพันธ์ของความรู้ในกฎหมายวิชาชีพ และความรู้ในสิทธิผู้ป่วย ต่อการปฏิบัติตามสิทธิผู้ป่วยของพยาบาลในระดับต่ำ จากผลการวิจัยควรมีการส่งเสริมให้มีการปฏิบัติตามสิทธิผู้ป่วย มีการนำนโยบายลงสู่การปฏิบัติ โดยการกำกับ ควบคุม ดูแลผู้ปฏิบัติงานอย่างใกล้ชิด มีการสร้างแนวทางในการปฏิบัติตามสิทธิผู้ป่วย และจัดให้มีการอบรมให้ความรู้ เพื่อเสริมสร้างให้มีการปฏิบัติที่ถูกต้อง เพื่อนำไปสู่วัฒนธรรมองค์การเกี่ยวกับการปฏิบัติตามสิทธิผู้ป่วย
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข
ดาริน จอมวงค์
สุธี อยู่สถาพร
ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ
วิริณธิ์ กิตติพิชัย
Darin Jomvong
Suthee Usathaporn
Chardsumon Prutipinyo
Wirin Kittipichai
format Article
author ดาริน จอมวงค์
สุธี อยู่สถาพร
ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ
วิริณธิ์ กิตติพิชัย
Darin Jomvong
Suthee Usathaporn
Chardsumon Prutipinyo
Wirin Kittipichai
author_sort ดาริน จอมวงค์
title การปฏิบัติตามสิทธิผู้ป่วยของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลจุฬาภรณ์
title_short การปฏิบัติตามสิทธิผู้ป่วยของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลจุฬาภรณ์
title_full การปฏิบัติตามสิทธิผู้ป่วยของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลจุฬาภรณ์
title_fullStr การปฏิบัติตามสิทธิผู้ป่วยของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลจุฬาภรณ์
title_full_unstemmed การปฏิบัติตามสิทธิผู้ป่วยของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลจุฬาภรณ์
title_sort การปฏิบัติตามสิทธิผู้ป่วยของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลจุฬาภรณ์
publishDate 2020
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/54084
_version_ 1763495513615761408
spelling th-mahidol.540842023-03-30T15:03:07Z การปฏิบัติตามสิทธิผู้ป่วยของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลจุฬาภรณ์ Patient’s rights compliance by registered nurses in Chulabhorn hospital ดาริน จอมวงค์ สุธี อยู่สถาพร ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ วิริณธิ์ กิตติพิชัย Darin Jomvong Suthee Usathaporn Chardsumon Prutipinyo Wirin Kittipichai มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาอนามัยครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. การบริหารโรงพยาบาล การปฏิบัติตามสิทธิผู้ป่วย สิทธิผู้ป่วย พยาบาลวิชาชีพ patient patient's right registered nurse วารสารกฎหมายสุขภาพและสาธารณสุข Public Health & Health Laws Journal การวิจัยในครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ (1)ศึกษาการปฏิบัติตามสิทธิผู้ป่วยของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลจุฬาภรณ์ และ (2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะส่วนบุคคล การรับรู้บรรยากาศองค์การ และความรู้ทางกฎหมายวิชาชีพและสิทธิผู้ป่วยต่อการปฏิบัติตามสิทธิผู้ป่วยของพยาบาลวิชาชีพ ในโรงพยาบาลจุฬาภรณ์ ทำการศึกษาจากกลุ่มตัวอย่าง พยาบาลวิชาชีพในกลุ่มงานการพยาบาลผู้ป่วยใน ผู้ป่วยนอก และ กลุ่มการพยาบาลในลักษณะพิเศษ จำนวน 140 คน โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูล ในช่วงเดือน มิ.ย. 2562 มีการทดสอบหาความเชื่อมั่นของเครื่องมือ โดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของคอนบาค เท่ากับ 0.827 และ 0.806 ตามลำดับ ทำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทำการทดสอบความสัมพันธ์ด้วยสถิติแบบไค-สแควร์ และแบบเพียร์สัน ผลการวิจัย พบว่า (1) การปฏิบัติตามสิทธิผู้ป่วยของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลจุฬาภรณ์โดยรวม อยู่ในระดับปานกลาง ( =2.945) (2) ในคุณลักษณะส่วนบุคคลของพยาบาลวิชาชีพ พบว่ามีความสัมพันธ์ระหว่าง ประสบการณ์ในการทำงานกับการปฏิบัติตามสิทธิผู้ป่วย (p=0.021) และไม่พบความสัมพันธ์ของ อายุ หน่วยงานที่ปฏิบัติงาน ระดับการศึกษา และการฝึกอบรมเฉพาะทาง ของพยาบาลวิชาชีพ กับการปฏิบัติตามสิทธิผู้ป่วย (2) ความสัมพันธ์ของการรับรู้บรรยากาศองค์การ กับการปฏิบัติตามสิทธิผู้ป่วยอยู่ในระดับต่ำ (r = 0.268)อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 และ(3) พบความสัมพันธ์ของความรู้ในกฎหมายวิชาชีพ และความรู้ในสิทธิผู้ป่วย ต่อการปฏิบัติตามสิทธิผู้ป่วยของพยาบาลในระดับต่ำ จากผลการวิจัยควรมีการส่งเสริมให้มีการปฏิบัติตามสิทธิผู้ป่วย มีการนำนโยบายลงสู่การปฏิบัติ โดยการกำกับ ควบคุม ดูแลผู้ปฏิบัติงานอย่างใกล้ชิด มีการสร้างแนวทางในการปฏิบัติตามสิทธิผู้ป่วย และจัดให้มีการอบรมให้ความรู้ เพื่อเสริมสร้างให้มีการปฏิบัติที่ถูกต้อง เพื่อนำไปสู่วัฒนธรรมองค์การเกี่ยวกับการปฏิบัติตามสิทธิผู้ป่วย The survey research objective is to investigate registered nurses ‘s perspectives toward the practice of patient rights at Chulabhorn Hospital, and to study the association of personal characteristics of registered nurses, perceptions regarding organizational atmosphere, professional legal knowledge and the patient’s rights, on compliance of registered nurses. One hundred forty samples were registered nurses working at in-patient department, out-patient department and special departments at Chulabhorn hospital. All were asked to answer questionnaire. Data was collected in June 2019. The reliability value of perceived work atmosphere and patients’ right compliance were 0.827 and 0.806 respectively. Data were analyzed by using descriptive statistics consisting of percentage, arithmetic means, and standard deviation. Chi-square was used to analyze the correlation between characteristics and patients’ right compliance. Pearson’s Product-Moment Correlation Coefficient was employed to analyze the relationship between the perception of organizational atmosphere, professional legal knowledge and patients’ rights compliance The results indicated that the practice of patient’s rights was at a medium level (x ̅= 2.945). On the association of personal characteristics of professional nurses, results indicated that there was an association of experience in working with patient’s rights compliance (p = 0.021), and there were no association of age, department of work, education level and specialized training of registered nurses, with patient’s right compliance. The association of organizational atmosphere perception and patient’s rights compliance was at a low level with statistical significant (r = 0.268, p = 0.001). The association of professional legal knowledge, and patients’ right knowledge, with patients’ right compliance was at a low level. The findings of this research indicated that patient’s right compliance should be encouraged. Transforming of policy to practice should be done through monitoring, and controlling closely. Guideline in patient’s right compliance should be established. Seminar and workshop on patient’s right compliance should be conducted to promote the appropriate practice, which should lead to organization culture for patient’s right compliance 2020-04-15T06:39:29Z 2020-04-15T06:39:29Z 2563-04-15 2563 Research Article วารสารกฎหมายสุขภาพและสาธารณสุข. ปีที่ 6, ฉบับที่ 1 (ม.ค. - มิ.ย 2563), 127-140 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/54084 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf