การเลือกใช้ฐานข้อมูลและตัวชี้วัดเพื่อประเมินคุณภาพการวิจัย
บทความวิชาการที่มีคุณภาพ ส่งผลให้วารสารที่ลงตีพิมพ์บทความนั้นมีคุณภาพเช่นกัน ปัจจุบันมีการคิด ระบบและวิธีการประเมินคุณภาพของวารสารทางวิชาการและบทความของนักวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารต่าง ๆ โดยใช้เกณฑ์ในการพิจารณาหลายอย่างประกอบกัน ทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ บทความนี้ ผู้เขียนได้เสนอเครื่องมือสืบค้นแล...
Saved in:
Main Authors: | , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
2020
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/54368 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
Summary: | บทความวิชาการที่มีคุณภาพ ส่งผลให้วารสารที่ลงตีพิมพ์บทความนั้นมีคุณภาพเช่นกัน ปัจจุบันมีการคิด
ระบบและวิธีการประเมินคุณภาพของวารสารทางวิชาการและบทความของนักวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารต่าง ๆ โดยใช้เกณฑ์ในการพิจารณาหลายอย่างประกอบกัน ทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ
บทความนี้ ผู้เขียนได้เสนอเครื่องมือสืบค้นและฐานข้อมูลที่ใช้ในการประเมินคุณภาพวารสารและบทความที่ตีพิมพ์ในวารสาร ได้แก่ ฐานข้อมูลศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย Thai-Journal Citation Index (TCI) Centre ใช้ในการประเมินคุณภาพวารสารวิชาการระดับชาติ โดยแบ่งเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่ม 1 เป็นกลุ่มวารสารที่มีคุณภาพระดับดีที่สุด กลุ่ม 2 เป็นกลุ่มวารสารที่มีคุณภาพระดับดี กลุ่ม 3 เป็นกลุ่มวารสารที่มีคุณภาพระดับพอใช้ ส่วนฐานข้อมูล Web of Science (WOS) และฐานข้อมูล SCImago Institutions Rankings (SJR) ใช้ในการประเมินคุณภาพวารสารวิชาการระดับนานาชาติ โดยมีวิธีการประเมินจากการหาค่า Quartile Score (Q) ของวารสาร ได้แก่ Q1 เป็นกลุ่มวารสารอันดับที่ 1 ซึ่งมีคุณภาพดีที่สุดในสาขานี้ (อยู่เหนือเปอร์เซ็นไทล์ที่ 75) Q2 เป็นกลุ่มวารสารอันดับที่ 2 ซึ่งมีคุณภาพดีในสาขาวิชานี้ (อยู่ระหว่างค่ามัธยฐาน (Median) และเปอร์เซ็นไทล์ที่ 75) Q3 เป็นกลุ่มวารสารอันดับที่ 3 ซึ่งมีคุณภาพพอใช้ในสาขาวิชานี้ (อยู่ระหว่างเปอร์เซ็นไทล์ที่ 25 และค่ามัธยฐาน (Median)) Q4 เป็นกลุ่มวารสารอันดับที่ 4 ซึ่งมีคุณภาพน้อยสุดในสาขาวิชานี้ (น้อยกว่าเปอร์เซ็นไทล์ที่ 25) |
---|