การศึกษาระยะเวลาที่เหมาะสมในการเก็บสารละลายมาตรฐานฟลูออไรด์

วัตถุประสงค์ เป็นการศึกษาระยะเวลาการเก็บที่เหมาะสมของสารละลายมาตรฐานฟลูออไรด์ที่ยังสามารถนำมาทำ Calibration Curve ได้จาก Expandable Ion Analyzer EA 940 โดยเตรียมจากสารละลายมาตรฐานฟลูออไรด์ความเข้มข้น 100 ppm โดยปกติการเตรียมสารละลายมาตรฐานฟลูออไรด์สำหรับค่า Calibration Curve จะต้องเตรียมใหม่เสมอ ทุก...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: พชร รุทระกาญจน์, พีรพงษ์ ตัวงาม, Pachara Rudrakanjana, Peerapong Tua-Ngam
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะทันตแพทยศาสตร์. งานประยุกต์ผลงานวิจัย
Format: Article
Language:Thai
Published: 2020
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/54745
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.54745
record_format dspace
spelling th-mahidol.547452023-03-30T19:51:30Z การศึกษาระยะเวลาที่เหมาะสมในการเก็บสารละลายมาตรฐานฟลูออไรด์ A Study on the Appropriate Time to Keep Fluoride Standard Solution พชร รุทระกาญจน์ พีรพงษ์ ตัวงาม Pachara Rudrakanjana Peerapong Tua-Ngam มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะทันตแพทยศาสตร์. งานประยุกต์ผลงานวิจัย ระยะเวลา สารละลายมาตรฐานฟลูออไรด์ ฟลูออไรด์ไอออนซีเล็คทีฟอิเล็กโทรด Timing Fluoride Standard Solution Fluoride Ion-Selective Electrode นักวิทยาศาสตร์ วัตถุประสงค์ เป็นการศึกษาระยะเวลาการเก็บที่เหมาะสมของสารละลายมาตรฐานฟลูออไรด์ที่ยังสามารถนำมาทำ Calibration Curve ได้จาก Expandable Ion Analyzer EA 940 โดยเตรียมจากสารละลายมาตรฐานฟลูออไรด์ความเข้มข้น 100 ppm โดยปกติการเตรียมสารละลายมาตรฐานฟลูออไรด์สำหรับค่า Calibration Curve จะต้องเตรียมใหม่เสมอ ทุกครั้งที่เตรียม Calibration Curve ทำให้เกิดปัญหาการสิ้นเปลืองทั้งสารเคมีและเวลาในช่วงการเตรียมสารมาตรฐานฟลูออไรด์มี่ความเข้มข้นต่าง ๆ สำหรับทำ Calibration Curve ในกรณีที่ต้องทำอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงมีความสนใจที่จะศึกษาถึงความเป็นไปได้ที่จะแก้ปัญหาดังกล่าว วัสดุอุปกรณ์และวิธีการศึกษา ตัวอย่างความเข้มข้นของปริมาณฟลูออไรด์ 0.1 1.0 และ 10.0 ppm ซึ่งเก็บในตู้เย็น 4 องศาเซลเซียส นำมาวัดปริมาณฟลูออไรด์ในแต่ละสัปดาห์จนครบ 9 สัปดาห์ วิเคราะห์ปริมาณฟลูออไรด์ออกมาทุกตัวอย่างด้วย Expandable Ion Analyzer EA 940 โดยทำการเตรียมสารละลายมาตรฐานฟลูออไรด์ขึ้นใหม่ทุกครั้งที่ทำการ Calibration Curve เครื่อง วัดปริมาณฟลูออไรด์จากตัวอย่างที่เก็บไว้ บันทึกค่าไว้ เพื่อหาค่าเฉลี่ยของปริมาณความเข้มข้นของฟลูออไรด์ จากนั้นทำการวัดปริมาณฟลูออไรด์ซ้ำในทุกสัปดาห์จนครบกำหนด นำข้อมูลมาวิเคราะห์ด้วยโปรแกรม SPSS Version 16 ผลการศึกษา จากการศึกษาพบว่า ฟลูออไรด์ที่ความเข้มข้น 0.1, 1.0 และ 10.0 ppm ในสภาวะอุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส ในระยะเวลาที่แตกต่างกัน พบว่าเมื่อวัดปริมาณความเข้มข้นของฟลูออไรด์ตั้งแต่ตั้งต้น จนถึงสัปดาห์ที่ 9 ความเข้มข้นของฟลูออไรด์ทั้ง 3 ค่า (0.1, 1.0 และ 10.0 ppm) เมื่อดูจากค่า Mean ± SD พบว่าไม่มีการเปลี่ยนแปลงในสัปดาห์ที่ 1 ถึงสัปดาห์ที่ 4 และจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างเห็นได้ชัดในสัปดาห์ที่ 5 และ 9 ของความเข้มข้นฟลูออไรด์ที่ 10.0 ppm โดยมีค่า Mean ± SD เท่ากับ 10.94 ± .055 และ 10.78 ± .045 ตามลำดับ บทสรุป ค่าเฉลี่ยที่ได้จากการทดสอบค่าความเข้มข้นของสารละลายมาตรฐานฟลูออไรด์ 0.1, 1.0 และ 10.0 ppm พบว่าเมื่อพิจารณาจากค่าเฉลี่ย และกราฟพบว่าค่าในช่วงตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงสัปดาห์ที่ 4 ในสภาวะอุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียสเป็นระยะเวลาที่เหมาะสมที่จะนำใช้ในการสร้าง Calibration Curve เพื่อการวิเคราะห์ปริมาณความเข้มข้นของฟลูออไรด์ ซึ่งการทดสอบดังกล่าวเป็นการทดสอบที่ควรต้องควบคุมปัจจัยอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องต่อไป Objective: To study the appropriate storage duration of the standard fluoride solutions and to test the level of fluoride ions using calibration curve obtained by Selective Electrode method. Materials and methods: The study samples comprised of standard fluoride solutions with fluoride concentrations of 0.1, 1.0 and 10.0 ppm The solutions were stored at 4oC for a total of 9 weeks and the average fluoride content of each solution was checked on a weekly basis using Selective Electrode method. Freshly prepared fluoride solution was used to make control calibration curves and compared with the stored samples at different durations. Data analysis was done using SPSS version 16. Results: In this study the fluoride concentration of 0.1, 1.0, and 10 ppm was stored at an extreme temperature of 4C for a total of 9 weeks. There was no change in the fluoride concentration (Mean ± SD) from week 1 to week 4. However, in 10.0 ppm fluoride solution there were noticeable changes at week 5 (10.94±0.055) and week 9 (10.78±0.045). Discussion and Conclusion: The 0.1, 1.0, and 10 ppm fluoride solutions could be stored for up to 4 weeks at 4C without significant changes in their average concentration. During long storage periods, a calibration curve should be created to test the concentrations of stored fluoride solutions. 2020-05-07T04:05:55Z 2020-05-07T04:05:55Z 2563-05-06 2559 Research Article วารสาร Mahidol R2R e-Journal.ปีที่ 3, ฉบับที่ 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2559), 71-82 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/54745 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic ระยะเวลา
สารละลายมาตรฐานฟลูออไรด์
ฟลูออไรด์ไอออนซีเล็คทีฟอิเล็กโทรด
Timing
Fluoride Standard Solution
Fluoride Ion-Selective Electrode
นักวิทยาศาสตร์
spellingShingle ระยะเวลา
สารละลายมาตรฐานฟลูออไรด์
ฟลูออไรด์ไอออนซีเล็คทีฟอิเล็กโทรด
Timing
Fluoride Standard Solution
Fluoride Ion-Selective Electrode
นักวิทยาศาสตร์
พชร รุทระกาญจน์
พีรพงษ์ ตัวงาม
Pachara Rudrakanjana
Peerapong Tua-Ngam
การศึกษาระยะเวลาที่เหมาะสมในการเก็บสารละลายมาตรฐานฟลูออไรด์
description วัตถุประสงค์ เป็นการศึกษาระยะเวลาการเก็บที่เหมาะสมของสารละลายมาตรฐานฟลูออไรด์ที่ยังสามารถนำมาทำ Calibration Curve ได้จาก Expandable Ion Analyzer EA 940 โดยเตรียมจากสารละลายมาตรฐานฟลูออไรด์ความเข้มข้น 100 ppm โดยปกติการเตรียมสารละลายมาตรฐานฟลูออไรด์สำหรับค่า Calibration Curve จะต้องเตรียมใหม่เสมอ ทุกครั้งที่เตรียม Calibration Curve ทำให้เกิดปัญหาการสิ้นเปลืองทั้งสารเคมีและเวลาในช่วงการเตรียมสารมาตรฐานฟลูออไรด์มี่ความเข้มข้นต่าง ๆ สำหรับทำ Calibration Curve ในกรณีที่ต้องทำอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงมีความสนใจที่จะศึกษาถึงความเป็นไปได้ที่จะแก้ปัญหาดังกล่าว วัสดุอุปกรณ์และวิธีการศึกษา ตัวอย่างความเข้มข้นของปริมาณฟลูออไรด์ 0.1 1.0 และ 10.0 ppm ซึ่งเก็บในตู้เย็น 4 องศาเซลเซียส นำมาวัดปริมาณฟลูออไรด์ในแต่ละสัปดาห์จนครบ 9 สัปดาห์ วิเคราะห์ปริมาณฟลูออไรด์ออกมาทุกตัวอย่างด้วย Expandable Ion Analyzer EA 940 โดยทำการเตรียมสารละลายมาตรฐานฟลูออไรด์ขึ้นใหม่ทุกครั้งที่ทำการ Calibration Curve เครื่อง วัดปริมาณฟลูออไรด์จากตัวอย่างที่เก็บไว้ บันทึกค่าไว้ เพื่อหาค่าเฉลี่ยของปริมาณความเข้มข้นของฟลูออไรด์ จากนั้นทำการวัดปริมาณฟลูออไรด์ซ้ำในทุกสัปดาห์จนครบกำหนด นำข้อมูลมาวิเคราะห์ด้วยโปรแกรม SPSS Version 16 ผลการศึกษา จากการศึกษาพบว่า ฟลูออไรด์ที่ความเข้มข้น 0.1, 1.0 และ 10.0 ppm ในสภาวะอุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส ในระยะเวลาที่แตกต่างกัน พบว่าเมื่อวัดปริมาณความเข้มข้นของฟลูออไรด์ตั้งแต่ตั้งต้น จนถึงสัปดาห์ที่ 9 ความเข้มข้นของฟลูออไรด์ทั้ง 3 ค่า (0.1, 1.0 และ 10.0 ppm) เมื่อดูจากค่า Mean ± SD พบว่าไม่มีการเปลี่ยนแปลงในสัปดาห์ที่ 1 ถึงสัปดาห์ที่ 4 และจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างเห็นได้ชัดในสัปดาห์ที่ 5 และ 9 ของความเข้มข้นฟลูออไรด์ที่ 10.0 ppm โดยมีค่า Mean ± SD เท่ากับ 10.94 ± .055 และ 10.78 ± .045 ตามลำดับ บทสรุป ค่าเฉลี่ยที่ได้จากการทดสอบค่าความเข้มข้นของสารละลายมาตรฐานฟลูออไรด์ 0.1, 1.0 และ 10.0 ppm พบว่าเมื่อพิจารณาจากค่าเฉลี่ย และกราฟพบว่าค่าในช่วงตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงสัปดาห์ที่ 4 ในสภาวะอุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียสเป็นระยะเวลาที่เหมาะสมที่จะนำใช้ในการสร้าง Calibration Curve เพื่อการวิเคราะห์ปริมาณความเข้มข้นของฟลูออไรด์ ซึ่งการทดสอบดังกล่าวเป็นการทดสอบที่ควรต้องควบคุมปัจจัยอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องต่อไป
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะทันตแพทยศาสตร์. งานประยุกต์ผลงานวิจัย
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะทันตแพทยศาสตร์. งานประยุกต์ผลงานวิจัย
พชร รุทระกาญจน์
พีรพงษ์ ตัวงาม
Pachara Rudrakanjana
Peerapong Tua-Ngam
format Article
author พชร รุทระกาญจน์
พีรพงษ์ ตัวงาม
Pachara Rudrakanjana
Peerapong Tua-Ngam
author_sort พชร รุทระกาญจน์
title การศึกษาระยะเวลาที่เหมาะสมในการเก็บสารละลายมาตรฐานฟลูออไรด์
title_short การศึกษาระยะเวลาที่เหมาะสมในการเก็บสารละลายมาตรฐานฟลูออไรด์
title_full การศึกษาระยะเวลาที่เหมาะสมในการเก็บสารละลายมาตรฐานฟลูออไรด์
title_fullStr การศึกษาระยะเวลาที่เหมาะสมในการเก็บสารละลายมาตรฐานฟลูออไรด์
title_full_unstemmed การศึกษาระยะเวลาที่เหมาะสมในการเก็บสารละลายมาตรฐานฟลูออไรด์
title_sort การศึกษาระยะเวลาที่เหมาะสมในการเก็บสารละลายมาตรฐานฟลูออไรด์
publishDate 2020
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/54745
_version_ 1763487912297496576