ภาพสะท้อนผ่านเพลงขับสายแปง : กรณีศึกษาบ้านสะแกราย ตำบลดอนยายหอม อำเภอเมืองฯ จังหวัดนครปฐม
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวัฒนธรรมไทยโซํงซึ่งสะท้อนผํานเพลงขับสายแปง ด้วยมุมมองทางมานุษยวิทยาดนตรีที่ศึกษารูปแบบ หน้าที่และความหมายของเพลงขับสายแปงโดยใช้ข้อมูลจากชุมชนไทยโซํงบ้านสะแกราย ตําบลดอนยายหอม อําเภอเมืองฯ จังหวัดนครปฐม เป็นข้อมูลหลักผลการศึกษาพบวํา เพลงขับสายแปงคือ การขับลํานําอยํางห...
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
2020
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/55340 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.55340 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-mahidol.553402023-03-30T18:16:17Z ภาพสะท้อนผ่านเพลงขับสายแปง : กรณีศึกษาบ้านสะแกราย ตำบลดอนยายหอม อำเภอเมืองฯ จังหวัดนครปฐม พิเชฐ สีตะพงศ์ มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท ขับสายแปง ภาพสะท้อนทางวัฒนธรรม มานุษยวิทยาดนตรี ไทยโซํง Khapsaipaeng folksongs cultural reflection Ethnomusicology Thai Song วารสารภาษาและวัฒนธรรม Journal of Language and Culture บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวัฒนธรรมไทยโซํงซึ่งสะท้อนผํานเพลงขับสายแปง ด้วยมุมมองทางมานุษยวิทยาดนตรีที่ศึกษารูปแบบ หน้าที่และความหมายของเพลงขับสายแปงโดยใช้ข้อมูลจากชุมชนไทยโซํงบ้านสะแกราย ตําบลดอนยายหอม อําเภอเมืองฯ จังหวัดนครปฐม เป็นข้อมูลหลักผลการศึกษาพบวํา เพลงขับสายแปงคือ การขับลํานําอยํางหนึ่งของชาวไทยโซํง โดยการเอื้อนเอํยเนื้อความ (กลอน) เป็นทํานองไพเราะ ไมํซับซ้อน เรียบงําย เป็นการบรรยายถึงภาพชีวิตในแงํมุมตํางๆ ใช้เพื่อทักทาย บอกเลําเรื่องราว หรือโต้ตอบกันระหวํางหญิง-ชายที่มีอยู่ในกิจกรรมทางวัฒนธรรมของไทยโซ่งในงานรื่นเริงทั่วไป เชํน อิ่นกอน (เลํนลูกชํวง) การเรียกขวัญ การลงขวง (การเกี้ยวสาว-หนุํม) เทศกาลประจําปีเป็นต้น ผลการวิจัยทําให้ได้ภาพสะท้อนทางวัฒนธรรมที่ปรากฏอยู่ในเพลงขับสายแปง อาทิประเพณี ความเชื่อ ประวัติศาสตร์ สภาพทางสังคม และโลกทัศน์ This paper aimsto study Thai Song culture through Khapsaipaeng folksongs based on an ethnomusicological framework. These songs are explored in terms of function and meaning. The main research site was Sakaeraai community at Don Yaayhom sub-district, Muang district, Nakhonpathom province. The findings revealthat the main functions for whichKhapsaipaeng folksongs areused are as greetings, telling stories, courting, etc. They possesssweet melodies andtheir contentisnot complicated. Descriptive language isused to depict theThai Song way of life. Khapsaipaeng folksongs aresung duringThai Song cultural activities and at festivals such as Inkon, callingback the guardian spirits, courting andannual festivals. In brief, Khapsaipaeng folksongs reflectThai Song cultural values and traditions, their beliefs, history, social situation and world view. 2020-05-15T04:03:29Z 2020-05-15T04:03:29Z 2563-05-15 2557 Research Article วารสารภาษาและวัฒนธรรม. ปีที่ 33, ฉบับที่ 2 (ก.ค.- ธ.ค. 2557), 91-113 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/55340 tha มหาวิทยาลัยมหิดล สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
ขับสายแปง ภาพสะท้อนทางวัฒนธรรม มานุษยวิทยาดนตรี ไทยโซํง Khapsaipaeng folksongs cultural reflection Ethnomusicology Thai Song วารสารภาษาและวัฒนธรรม Journal of Language and Culture |
spellingShingle |
ขับสายแปง ภาพสะท้อนทางวัฒนธรรม มานุษยวิทยาดนตรี ไทยโซํง Khapsaipaeng folksongs cultural reflection Ethnomusicology Thai Song วารสารภาษาและวัฒนธรรม Journal of Language and Culture พิเชฐ สีตะพงศ์ ภาพสะท้อนผ่านเพลงขับสายแปง : กรณีศึกษาบ้านสะแกราย ตำบลดอนยายหอม อำเภอเมืองฯ จังหวัดนครปฐม |
description |
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวัฒนธรรมไทยโซํงซึ่งสะท้อนผํานเพลงขับสายแปง ด้วยมุมมองทางมานุษยวิทยาดนตรีที่ศึกษารูปแบบ หน้าที่และความหมายของเพลงขับสายแปงโดยใช้ข้อมูลจากชุมชนไทยโซํงบ้านสะแกราย ตําบลดอนยายหอม อําเภอเมืองฯ จังหวัดนครปฐม เป็นข้อมูลหลักผลการศึกษาพบวํา เพลงขับสายแปงคือ การขับลํานําอยํางหนึ่งของชาวไทยโซํง โดยการเอื้อนเอํยเนื้อความ (กลอน) เป็นทํานองไพเราะ ไมํซับซ้อน เรียบงําย เป็นการบรรยายถึงภาพชีวิตในแงํมุมตํางๆ ใช้เพื่อทักทาย บอกเลําเรื่องราว หรือโต้ตอบกันระหวํางหญิง-ชายที่มีอยู่ในกิจกรรมทางวัฒนธรรมของไทยโซ่งในงานรื่นเริงทั่วไป เชํน อิ่นกอน (เลํนลูกชํวง) การเรียกขวัญ การลงขวง (การเกี้ยวสาว-หนุํม) เทศกาลประจําปีเป็นต้น ผลการวิจัยทําให้ได้ภาพสะท้อนทางวัฒนธรรมที่ปรากฏอยู่ในเพลงขับสายแปง อาทิประเพณี ความเชื่อ ประวัติศาสตร์ สภาพทางสังคม และโลกทัศน์ |
author2 |
มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย |
author_facet |
มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย พิเชฐ สีตะพงศ์ |
format |
Article |
author |
พิเชฐ สีตะพงศ์ |
author_sort |
พิเชฐ สีตะพงศ์ |
title |
ภาพสะท้อนผ่านเพลงขับสายแปง : กรณีศึกษาบ้านสะแกราย ตำบลดอนยายหอม อำเภอเมืองฯ จังหวัดนครปฐม |
title_short |
ภาพสะท้อนผ่านเพลงขับสายแปง : กรณีศึกษาบ้านสะแกราย ตำบลดอนยายหอม อำเภอเมืองฯ จังหวัดนครปฐม |
title_full |
ภาพสะท้อนผ่านเพลงขับสายแปง : กรณีศึกษาบ้านสะแกราย ตำบลดอนยายหอม อำเภอเมืองฯ จังหวัดนครปฐม |
title_fullStr |
ภาพสะท้อนผ่านเพลงขับสายแปง : กรณีศึกษาบ้านสะแกราย ตำบลดอนยายหอม อำเภอเมืองฯ จังหวัดนครปฐม |
title_full_unstemmed |
ภาพสะท้อนผ่านเพลงขับสายแปง : กรณีศึกษาบ้านสะแกราย ตำบลดอนยายหอม อำเภอเมืองฯ จังหวัดนครปฐม |
title_sort |
ภาพสะท้อนผ่านเพลงขับสายแปง : กรณีศึกษาบ้านสะแกราย ตำบลดอนยายหอม อำเภอเมืองฯ จังหวัดนครปฐม |
publishDate |
2020 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/55340 |
_version_ |
1763491112542011392 |