การสำรวจความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรสถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว
การสำรวจความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรสถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัวมี วัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาระดับความผูกพันต่อองค์การของบุคลากร 2. ศึกษาปัจจัยด้านประสบการณ์ในการทำงาน ของบุคลากร 3. ศึกษาเปรียบเทียบความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรสถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและ ครอบครัว ที่มีปัจจ...
Saved in:
Main Authors: | , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
2020
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/56368 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.56368 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-mahidol.563682023-03-30T13:08:39Z การสำรวจความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรสถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว A Survey of Member Affiliation of the National Institute for Child and Family Development (NICFD) Organization สายสุนีย์ เบ็ญจโภคี Saisunee Benjapokee มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว ความผูกพันต่อองค์การ บุคลากร สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว Journal of Professional Routine to Research การสำรวจความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรสถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัวมี วัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาระดับความผูกพันต่อองค์การของบุคลากร 2. ศึกษาปัจจัยด้านประสบการณ์ในการทำงาน ของบุคลากร 3. ศึกษาเปรียบเทียบความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรสถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและ ครอบครัว ที่มีปัจจัยส่วนบุคคลต่างกัน และ 4. ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความผูกพันต่อองค์การกับปัจจัยด้าน ประสบการณ์ในการทำงานของบุคลากรสถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัย เชิงสำรวจ เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 92 คน การกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างทำโดยใช้สูตรของยามาเน่ (Yamane) ระดับความเชื่อมั่น 95% และค่าความคลาดเคลื่อน 5 % สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้ ส่วนที่ 1 สถิติเชิงพรรณา ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ความถี่ และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ส่วนที่ 2 การวิเคราะห์ข้อมูลแบบ อ้างอิงชั้นสูง ได้แก่ การทดสอบที (t-test) การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว (One-Way ANOVA) และ การวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน (Pearson’s Correlation Coefficient) โดยกา หนดระดับนัยสำคัญทาง สถิติที่ระดับ 0.05 ผลการศึกษาพบว่า ระดับความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรโดยรวมอยู่ในระดับมาก ระดับ ความคิดเห็นของบุคลากรต่อปัจจัยด้านประสบการณ์ในการทำงานโดยรวมอยู่ในระดับมาก ส่วนการเปรียบเทียบ ความแตกต่างระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลของบุคลากรกับความผูกพันต่อองค์การ พบว่า ปัจจัยส่วนบุคคลด้าน สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา อายุงาน ประเภทของบุคลากร ระดับเงินเดือน ตำแหน่งบริหาร และสังกัดงาน ที่ แตกต่างกันจะมีความผูกพันต่อองค์การแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.05) และจากการศึกษาความ สัมพันธ์ระหว่างความผูกพันต่อองค์การกับปัจจัยด้านประสบการณ์ในการทำงานทุกด้าน พบว่ามีความสัมพันธ์เชิง เส้นในทิศทางเดียวกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.05) The objectives of this survey was to study members of the National Institute for child and Family Development (NICFD) as regards personal and working experience factors and to examine the relationship between member affiliation of the NICFD organization and working experience factors of members.This study employed a survey research method which collected data from a sample of 92 members. The sample size was calculated based on Yamane’s formula with a confidence coefficient of 95% and with an error 5%. The data was analyzed by using descriptive statistics includes percentage, means, frequencies, and standard deviations and Inference Statistics includes t-test, One-Way ANOVA, and Pearson’s Correlation Coefficient with a significance level at 0.05. The result indicated that the members had affiliation in high level and the opinion of the members on working experience was at the high level. The comparison between different personal factors and affiliation of the organization revealed that there were significant difference between marital status, educational level, duration of employment, types of employment, salary, managerial status, and original affiliation and member affiliation of the organization (p < 0.05). In addition, affiliation of the NICFD organization and working experience factors of members was at a significance linear correlation (p < 0.05). 2020-06-04T07:43:27Z 2020-06-04T07:43:27Z 2563-06-01 2559 Research Article วารสารการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย. ปีที่ 3, (ส.ค. 2559), 53-62 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/56368 tha มหาวิทยาลัยมหิดล สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
ความผูกพันต่อองค์การ บุคลากร สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว Journal of Professional Routine to Research |
spellingShingle |
ความผูกพันต่อองค์การ บุคลากร สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว Journal of Professional Routine to Research สายสุนีย์ เบ็ญจโภคี Saisunee Benjapokee การสำรวจความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรสถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว |
description |
การสำรวจความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรสถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัวมี
วัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาระดับความผูกพันต่อองค์การของบุคลากร 2. ศึกษาปัจจัยด้านประสบการณ์ในการทำงาน
ของบุคลากร 3. ศึกษาเปรียบเทียบความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรสถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและ
ครอบครัว ที่มีปัจจัยส่วนบุคคลต่างกัน และ 4. ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความผูกพันต่อองค์การกับปัจจัยด้าน
ประสบการณ์ในการทำงานของบุคลากรสถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัย
เชิงสำรวจ เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 92 คน การกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างทำโดยใช้สูตรของยามาเน่
(Yamane) ระดับความเชื่อมั่น 95% และค่าความคลาดเคลื่อน 5 % สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้ ส่วนที่ 1
สถิติเชิงพรรณา ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ความถี่ และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ส่วนที่ 2 การวิเคราะห์ข้อมูลแบบ
อ้างอิงชั้นสูง ได้แก่ การทดสอบที (t-test) การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว (One-Way ANOVA) และ
การวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน (Pearson’s Correlation Coefficient) โดยกา หนดระดับนัยสำคัญทาง
สถิติที่ระดับ 0.05 ผลการศึกษาพบว่า ระดับความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรโดยรวมอยู่ในระดับมาก ระดับ
ความคิดเห็นของบุคลากรต่อปัจจัยด้านประสบการณ์ในการทำงานโดยรวมอยู่ในระดับมาก ส่วนการเปรียบเทียบ
ความแตกต่างระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลของบุคลากรกับความผูกพันต่อองค์การ พบว่า ปัจจัยส่วนบุคคลด้าน
สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา อายุงาน ประเภทของบุคลากร ระดับเงินเดือน ตำแหน่งบริหาร และสังกัดงาน ที่
แตกต่างกันจะมีความผูกพันต่อองค์การแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.05) และจากการศึกษาความ
สัมพันธ์ระหว่างความผูกพันต่อองค์การกับปัจจัยด้านประสบการณ์ในการทำงานทุกด้าน พบว่ามีความสัมพันธ์เชิง
เส้นในทิศทางเดียวกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.05) |
author2 |
มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว |
author_facet |
มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว สายสุนีย์ เบ็ญจโภคี Saisunee Benjapokee |
format |
Article |
author |
สายสุนีย์ เบ็ญจโภคี Saisunee Benjapokee |
author_sort |
สายสุนีย์ เบ็ญจโภคี |
title |
การสำรวจความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรสถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว |
title_short |
การสำรวจความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรสถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว |
title_full |
การสำรวจความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรสถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว |
title_fullStr |
การสำรวจความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรสถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว |
title_full_unstemmed |
การสำรวจความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรสถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว |
title_sort |
การสำรวจความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรสถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว |
publishDate |
2020 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/56368 |
_version_ |
1763494842732642304 |