การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกิจและสังคมที่ส่งผลต่อการใช้ภาษาในกลุ่มเยาวชนบรู

ปรากฏการณ์ที่กลุ่มเยาวชนชาวบรูในเขตตําบลกกตูม อําเภอดงหลวง จังหวัดมุกดาหาร ไม่ใช้ภาษาชาติพันธุ์บรูของตนและหันมาใช้ภาษาผู้ไทยในการสื่อสารประจําวันเป็นปรากฏการณ์ที่สมควรได้รับอธิบาย บทความชิ้นนี้ ผู้วิจัยทําการวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างระหว่างกลุ่มชาติพันธุ์บรูและผู้ไทยผ่านบริบททางประวัติศาสตร...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ณรงค์ อาจสมิติ, Narong Ardsmiti
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย
Format: Article
Language:Thai
Published: 2020
Subjects:
Bru
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/56378
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.56378
record_format dspace
spelling th-mahidol.563782023-03-31T12:40:00Z การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกิจและสังคมที่ส่งผลต่อการใช้ภาษาในกลุ่มเยาวชนบรู Socio-economic structural change and its effect on the language useof Bru youths ณรงค์ อาจสมิติ Narong Ardsmiti มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท ชาติพันธุ์บรู การใช้ภาษา ผู้ไทย บรู การฟื้นฟูภาษาบรู วารสารภาษาและวัฒนธรรม Journal of Language and Culture Bru ethnicity Language use Phu Tai Bru Bru language revitalization ปรากฏการณ์ที่กลุ่มเยาวชนชาวบรูในเขตตําบลกกตูม อําเภอดงหลวง จังหวัดมุกดาหาร ไม่ใช้ภาษาชาติพันธุ์บรูของตนและหันมาใช้ภาษาผู้ไทยในการสื่อสารประจําวันเป็นปรากฏการณ์ที่สมควรได้รับอธิบาย บทความชิ้นนี้ ผู้วิจัยทําการวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างระหว่างกลุ่มชาติพันธุ์บรูและผู้ไทยผ่านบริบททางประวัติศาสตร์ชาติพันธุ์ก่อนและหลังยุคสิ้นสุดอิทธิพลพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยในพื้นที่ในงานชิ้นนี้เป็นการเสนอชุดคําอธิบายใหม่ว่า ภาวะการไม่ใช้ภาษาบรูของเยาวชนในพื้นที่ศึกษานั้นมิได้เกิดการกดทับของการให้ค่ากับความหมายของคําว่า “ข่า” ที่ถูกสร้างขึ้นดังเช่นคนรุ่นก่อนประสบ หากแต่เป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกิจและสังคมของชุมชน โดยเฉพาะการเข้ามาถือครองที่ดินของชาวผู้ไทยในเขตที่อยู่อาศัยของชาวบรู อีกทั้งแรงกระตุ้นจากโครงการพัฒนาในพื้นที่ของภาครัฐภายหลังยุคสิ้นสุดอิทธิพลพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยเป็นปัจจัยเสริมให้เกิดความต้องการที่ดินของชาวผู้ไทยในการเข้ามาอยู่ในชุมชนคนบรูและครอบงําการใช้ภาษาในทุกแวดวงทั้งในแวดวงครอบครัว แวดวงโรงเรียน และแวดวงพื้นที่สาธารณะในตอนท้ายบทความนี้ผู้วิจัยได้คาดการณ์และแสดงทัศนะความห่วงใยการตกเข้าไปสู่สภาวะความเป็นชายขอบของสังคมสมัยใหม่ที่มีวิถีชีวิตแบบสังคมเกษตรกรรมบนเศรษฐกิจทุนนิยมของชาวบรู The phenomenon of Bru youths in Kok Tum sub-district of Dong Luang district, Mukdahan province using Phu Tai language in everyday life, instead oftheir ethnic Bru language, needs to be analyzed. In this article, I explore relationships between Phu Tai and Thai Bru ethnic groups in an ethnic historicalcontext before and after the ColdWar period. The collapse of the Communist Party of Thailand (CPT) and the socio-economic changes that followed have influenced the language use of the Bru’syounger generations. In this paper, I argue that the loss of the Bru language in the research areas is not because of the derogatory meaning of “Kha” as in earlier times but rather due to socio-economic changes in the Bru communities in which land ownership has been transferred to the Phu Tai from outside the communities. After the CPT was dissolved, many Phu Tai people moved into Bru communities and took up land ownership. Furthermore, the land development projects led by the government after the collapseof the CPT created demand for land among people, particularly the Phu Tai people. As a result, the Phu Tai language dominates every domain including home, school, and public sphere. In the last part, I express my concern for the future of the Bru who havebecome marginalized in the modern capitalist society. สนับสนุนทุนวิจัยโดยกรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม ประจําปี พ.ศ. 2558 2020-06-05T05:17:39Z 2020-06-05T05:17:39Z 2563-06-05 2560 Research Article วารสารภาษาและวัฒนธรรม. ปีที่ 36, ฉบับที่ 2 (ก.ค.- ธ.ค. 2560), 137-161 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/56378 tha มหาวิทยาลัยมหิดล สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic ชาติพันธุ์บรู
การใช้ภาษา
ผู้ไทย
บรู
การฟื้นฟูภาษาบรู
วารสารภาษาและวัฒนธรรม
Journal of Language and Culture
Bru ethnicity
Language use
Phu Tai
Bru
Bru language revitalization
spellingShingle ชาติพันธุ์บรู
การใช้ภาษา
ผู้ไทย
บรู
การฟื้นฟูภาษาบรู
วารสารภาษาและวัฒนธรรม
Journal of Language and Culture
Bru ethnicity
Language use
Phu Tai
Bru
Bru language revitalization
ณรงค์ อาจสมิติ
Narong Ardsmiti
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกิจและสังคมที่ส่งผลต่อการใช้ภาษาในกลุ่มเยาวชนบรู
description ปรากฏการณ์ที่กลุ่มเยาวชนชาวบรูในเขตตําบลกกตูม อําเภอดงหลวง จังหวัดมุกดาหาร ไม่ใช้ภาษาชาติพันธุ์บรูของตนและหันมาใช้ภาษาผู้ไทยในการสื่อสารประจําวันเป็นปรากฏการณ์ที่สมควรได้รับอธิบาย บทความชิ้นนี้ ผู้วิจัยทําการวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างระหว่างกลุ่มชาติพันธุ์บรูและผู้ไทยผ่านบริบททางประวัติศาสตร์ชาติพันธุ์ก่อนและหลังยุคสิ้นสุดอิทธิพลพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยในพื้นที่ในงานชิ้นนี้เป็นการเสนอชุดคําอธิบายใหม่ว่า ภาวะการไม่ใช้ภาษาบรูของเยาวชนในพื้นที่ศึกษานั้นมิได้เกิดการกดทับของการให้ค่ากับความหมายของคําว่า “ข่า” ที่ถูกสร้างขึ้นดังเช่นคนรุ่นก่อนประสบ หากแต่เป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกิจและสังคมของชุมชน โดยเฉพาะการเข้ามาถือครองที่ดินของชาวผู้ไทยในเขตที่อยู่อาศัยของชาวบรู อีกทั้งแรงกระตุ้นจากโครงการพัฒนาในพื้นที่ของภาครัฐภายหลังยุคสิ้นสุดอิทธิพลพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยเป็นปัจจัยเสริมให้เกิดความต้องการที่ดินของชาวผู้ไทยในการเข้ามาอยู่ในชุมชนคนบรูและครอบงําการใช้ภาษาในทุกแวดวงทั้งในแวดวงครอบครัว แวดวงโรงเรียน และแวดวงพื้นที่สาธารณะในตอนท้ายบทความนี้ผู้วิจัยได้คาดการณ์และแสดงทัศนะความห่วงใยการตกเข้าไปสู่สภาวะความเป็นชายขอบของสังคมสมัยใหม่ที่มีวิถีชีวิตแบบสังคมเกษตรกรรมบนเศรษฐกิจทุนนิยมของชาวบรู
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย
ณรงค์ อาจสมิติ
Narong Ardsmiti
format Article
author ณรงค์ อาจสมิติ
Narong Ardsmiti
author_sort ณรงค์ อาจสมิติ
title การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกิจและสังคมที่ส่งผลต่อการใช้ภาษาในกลุ่มเยาวชนบรู
title_short การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกิจและสังคมที่ส่งผลต่อการใช้ภาษาในกลุ่มเยาวชนบรู
title_full การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกิจและสังคมที่ส่งผลต่อการใช้ภาษาในกลุ่มเยาวชนบรู
title_fullStr การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกิจและสังคมที่ส่งผลต่อการใช้ภาษาในกลุ่มเยาวชนบรู
title_full_unstemmed การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกิจและสังคมที่ส่งผลต่อการใช้ภาษาในกลุ่มเยาวชนบรู
title_sort การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกิจและสังคมที่ส่งผลต่อการใช้ภาษาในกลุ่มเยาวชนบรู
publishDate 2020
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/56378
_version_ 1764209862806339584