รายงานการวิจัยเรื่อง ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับปัญหาสุขภาพจิตผู้ใช้แรงงานในโรงงานอุตสาหกรรม จังหวัดนนทบุรี

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยด้านลักษณะประชากร เศรษฐกิจและสังคม สภาพแวดล้อมด้านครอบครัว ความรู้สึกต่อสุขภาพตนเอง พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ ความรู้สึกต่อปัญหาชีวิตของตนเอง การปฏิบัติตนเมื่อมีปัญหาสุขภาพทางกายและมีปัญหาสุขภาพทางจิตใจ กับปัญหาสุขภาพจิต และศึกษาความต้องกา...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: จรวยพร สุภาพ, อัมพร โอตระกูล, ระวิวรรณ แสงฉาย, สุวัฒน์ ศรีสรฉัตร, อรนุช ภาชื่น, เฉลิมชัย ชัยกิตติภรณ์, Jaruayporn Suparp, Amphorn Otrakul, Rawiwan Sangchai, Suwat Srisorrachatr, Oranut Pacheun, Chalermchai Chaikittiporn
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาอนามัยครอบครัว.
Format: Research Report
Language:Thai
Published: 2012
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/58700
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.58700
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic สุขภาพจิตในโรงงานอุตสาหกรรม
โรงงานอุตสาหกรรม
สุขภาพจิตกับแรงงาน
แรงงาน
spellingShingle สุขภาพจิตในโรงงานอุตสาหกรรม
โรงงานอุตสาหกรรม
สุขภาพจิตกับแรงงาน
แรงงาน
จรวยพร สุภาพ
อัมพร โอตระกูล
ระวิวรรณ แสงฉาย
สุวัฒน์ ศรีสรฉัตร
อรนุช ภาชื่น
เฉลิมชัย ชัยกิตติภรณ์
Jaruayporn Suparp
Amphorn Otrakul
Rawiwan Sangchai
Suwat Srisorrachatr
Oranut Pacheun
Chalermchai Chaikittiporn
รายงานการวิจัยเรื่อง ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับปัญหาสุขภาพจิตผู้ใช้แรงงานในโรงงานอุตสาหกรรม จังหวัดนนทบุรี
description การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยด้านลักษณะประชากร เศรษฐกิจและสังคม สภาพแวดล้อมด้านครอบครัว ความรู้สึกต่อสุขภาพตนเอง พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ ความรู้สึกต่อปัญหาชีวิตของตนเอง การปฏิบัติตนเมื่อมีปัญหาสุขภาพทางกายและมีปัญหาสุขภาพทางจิตใจ กับปัญหาสุขภาพจิต และศึกษาความต้องการบริการสุขภาพทางกายและทางจิตใจของผู้ใช้แรงงานในโรงงานอุตสาหกรรม จังหวัดนนทบุรี จำนวน 526 คน โดยใช้แบบสอบถามชนิดตอบด้วยตนเอง และแบบคัดกรองปัญหาสุขภาพจิตภาษาไทยฉบับย่อ GHQ-28 ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ ถึงเดือนกันยายน 2540 ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับปัญหาสุขภาพจิตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ คือ ประเภทโรงงาน อายุ สถานภาพสมรส ความสัมพันธ์กับสามี/ภรรยา ความสัมพันธ์กับญาติพี่น้อย ความรู้สึกต่อสุขภาพ ตนเองในรอบ 1 ปีที่ผ่านมา ความรู้สึกต่อปัญหาชีวิตของตนเอง การรับประทานยาแก้ไข้ แก้ปวด และยาคลายเครียด การปฏิบัติตนเมื่อมีปัญหาสุขภาพทางกายที่ต้องรักษาโดยการปรึกษาแพทย์ ขอคำแนะนำ พักผ่อน ใช้ยาแผนโบราณ ปรึกษาเพื่อน ปล่อยให้หายเอง การปฏิบัติตนเมื่อมีปัญหาสุขภาพทางจิตใจที่ต้องรักษาโดยการปรึกษาครอบครัว ปรึกษาเพื่อนหรือคนใกล้ชิด การทำสมาธิ การฟังเพลง เล่นกีฬา พักผ่อน นั่งคนเดียว โดยกลุ่มที่มีปัญหาสุขภาพจิตสูง คือ กลุ่มที่มีลักษณะดังนี้คือ อายุน้อย สถานภาพสมรถ หม้าย/หย่า/แยก มีความขัดแย้งกับสามี/ภรรยามาก มีความขัดแย้งกับ /ญาติพี่น้องมาก มีความรู้สึกว่าตนเองไม่ค่อยแข็งแรง มีความรู้สึกว่าตนเองมีปัญหาชีวิต เมื่อนำปัจจัยต่างๆ มาวิเคราะห์ความแปรปรวนของปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคะแนนสุข ภาพจิต พบว่า รูปแบบการวิเคราะห์ความแปรปรวนของปัจจัย เพศ อายุ และสถานภาพสมรส อธิบายได้ดีที่สุด โดยอายุและสถานภาพสมรสมีความสัมพันธ์กับคะแนนสุขภาพจิตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยอายุน้อย และสถานภาพสมรสม่าย/หย่า/แยก มีคะแนนสุขภาพจิตเฉลี่ยสูงสุด และสามารถทำนายความผันแปรของคะแนนสุขภาพจิตได้เท่ากับร้อยละ 43 สำหรับบริการสุขภาพทางกายและทางจิตใจที่อยากให้มีขึ้นนอกจากการรักษาพยาบาลตามปกติ คือ ทัศนศึกษาเป็นครั้งคราว สถานที่พักผ่อน ออกกำลังกายในสถานที่ทำงาน การให้คำปรึกษาสุขภาพกายและจิตใจในโรงงาน และมุมความรู้ด้านสุขภาพ โปสเตอร์ วิดีทัศน์ แผ่นพับ และสวนสุขภาพ สวนหย่อม สนามกีฬา การเปิดเพลง การแข่งกีฬา จิตแพทย์ ข่าวสารต่างๆ ความปลอดภัยในการทำงานและเงินเดือน
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาอนามัยครอบครัว.
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาอนามัยครอบครัว.
จรวยพร สุภาพ
อัมพร โอตระกูล
ระวิวรรณ แสงฉาย
สุวัฒน์ ศรีสรฉัตร
อรนุช ภาชื่น
เฉลิมชัย ชัยกิตติภรณ์
Jaruayporn Suparp
Amphorn Otrakul
Rawiwan Sangchai
Suwat Srisorrachatr
Oranut Pacheun
Chalermchai Chaikittiporn
format Research Report
author จรวยพร สุภาพ
อัมพร โอตระกูล
ระวิวรรณ แสงฉาย
สุวัฒน์ ศรีสรฉัตร
อรนุช ภาชื่น
เฉลิมชัย ชัยกิตติภรณ์
Jaruayporn Suparp
Amphorn Otrakul
Rawiwan Sangchai
Suwat Srisorrachatr
Oranut Pacheun
Chalermchai Chaikittiporn
author_sort จรวยพร สุภาพ
title รายงานการวิจัยเรื่อง ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับปัญหาสุขภาพจิตผู้ใช้แรงงานในโรงงานอุตสาหกรรม จังหวัดนนทบุรี
title_short รายงานการวิจัยเรื่อง ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับปัญหาสุขภาพจิตผู้ใช้แรงงานในโรงงานอุตสาหกรรม จังหวัดนนทบุรี
title_full รายงานการวิจัยเรื่อง ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับปัญหาสุขภาพจิตผู้ใช้แรงงานในโรงงานอุตสาหกรรม จังหวัดนนทบุรี
title_fullStr รายงานการวิจัยเรื่อง ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับปัญหาสุขภาพจิตผู้ใช้แรงงานในโรงงานอุตสาหกรรม จังหวัดนนทบุรี
title_full_unstemmed รายงานการวิจัยเรื่อง ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับปัญหาสุขภาพจิตผู้ใช้แรงงานในโรงงานอุตสาหกรรม จังหวัดนนทบุรี
title_sort รายงานการวิจัยเรื่อง ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับปัญหาสุขภาพจิตผู้ใช้แรงงานในโรงงานอุตสาหกรรม จังหวัดนนทบุรี
publishDate 2012
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/58700
_version_ 1781414706345410560
spelling th-mahidol.587002023-04-12T15:24:59Z รายงานการวิจัยเรื่อง ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับปัญหาสุขภาพจิตผู้ใช้แรงงานในโรงงานอุตสาหกรรม จังหวัดนนทบุรี Factors associated with mental health problems of factory workers, Nonthaburi Province จรวยพร สุภาพ อัมพร โอตระกูล ระวิวรรณ แสงฉาย สุวัฒน์ ศรีสรฉัตร อรนุช ภาชื่น เฉลิมชัย ชัยกิตติภรณ์ Jaruayporn Suparp Amphorn Otrakul Rawiwan Sangchai Suwat Srisorrachatr Oranut Pacheun Chalermchai Chaikittiporn มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาอนามัยครอบครัว. มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาโภชนวิทยา. มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาอนามัยชุมชน. มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย. สุขภาพจิตในโรงงานอุตสาหกรรม โรงงานอุตสาหกรรม สุขภาพจิตกับแรงงาน แรงงาน การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยด้านลักษณะประชากร เศรษฐกิจและสังคม สภาพแวดล้อมด้านครอบครัว ความรู้สึกต่อสุขภาพตนเอง พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ ความรู้สึกต่อปัญหาชีวิตของตนเอง การปฏิบัติตนเมื่อมีปัญหาสุขภาพทางกายและมีปัญหาสุขภาพทางจิตใจ กับปัญหาสุขภาพจิต และศึกษาความต้องการบริการสุขภาพทางกายและทางจิตใจของผู้ใช้แรงงานในโรงงานอุตสาหกรรม จังหวัดนนทบุรี จำนวน 526 คน โดยใช้แบบสอบถามชนิดตอบด้วยตนเอง และแบบคัดกรองปัญหาสุขภาพจิตภาษาไทยฉบับย่อ GHQ-28 ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ ถึงเดือนกันยายน 2540 ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับปัญหาสุขภาพจิตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ คือ ประเภทโรงงาน อายุ สถานภาพสมรส ความสัมพันธ์กับสามี/ภรรยา ความสัมพันธ์กับญาติพี่น้อย ความรู้สึกต่อสุขภาพ ตนเองในรอบ 1 ปีที่ผ่านมา ความรู้สึกต่อปัญหาชีวิตของตนเอง การรับประทานยาแก้ไข้ แก้ปวด และยาคลายเครียด การปฏิบัติตนเมื่อมีปัญหาสุขภาพทางกายที่ต้องรักษาโดยการปรึกษาแพทย์ ขอคำแนะนำ พักผ่อน ใช้ยาแผนโบราณ ปรึกษาเพื่อน ปล่อยให้หายเอง การปฏิบัติตนเมื่อมีปัญหาสุขภาพทางจิตใจที่ต้องรักษาโดยการปรึกษาครอบครัว ปรึกษาเพื่อนหรือคนใกล้ชิด การทำสมาธิ การฟังเพลง เล่นกีฬา พักผ่อน นั่งคนเดียว โดยกลุ่มที่มีปัญหาสุขภาพจิตสูง คือ กลุ่มที่มีลักษณะดังนี้คือ อายุน้อย สถานภาพสมรถ หม้าย/หย่า/แยก มีความขัดแย้งกับสามี/ภรรยามาก มีความขัดแย้งกับ /ญาติพี่น้องมาก มีความรู้สึกว่าตนเองไม่ค่อยแข็งแรง มีความรู้สึกว่าตนเองมีปัญหาชีวิต เมื่อนำปัจจัยต่างๆ มาวิเคราะห์ความแปรปรวนของปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคะแนนสุข ภาพจิต พบว่า รูปแบบการวิเคราะห์ความแปรปรวนของปัจจัย เพศ อายุ และสถานภาพสมรส อธิบายได้ดีที่สุด โดยอายุและสถานภาพสมรสมีความสัมพันธ์กับคะแนนสุขภาพจิตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยอายุน้อย และสถานภาพสมรสม่าย/หย่า/แยก มีคะแนนสุขภาพจิตเฉลี่ยสูงสุด และสามารถทำนายความผันแปรของคะแนนสุขภาพจิตได้เท่ากับร้อยละ 43 สำหรับบริการสุขภาพทางกายและทางจิตใจที่อยากให้มีขึ้นนอกจากการรักษาพยาบาลตามปกติ คือ ทัศนศึกษาเป็นครั้งคราว สถานที่พักผ่อน ออกกำลังกายในสถานที่ทำงาน การให้คำปรึกษาสุขภาพกายและจิตใจในโรงงาน และมุมความรู้ด้านสุขภาพ โปสเตอร์ วิดีทัศน์ แผ่นพับ และสวนสุขภาพ สวนหย่อม สนามกีฬา การเปิดเพลง การแข่งกีฬา จิตแพทย์ ข่าวสารต่างๆ ความปลอดภัยในการทำงานและเงินเดือน The main objectives of this research are, firstly to study the association between population socioeconomic factor, family environment, their own health perception, undesirable behavior, their own life problem perception, the way they practice when they get physical and mental health troubles and mental health problem, secondarily, to study the physical and mental health services needed by the factory workers. Total number of 526 factory workers in Nonthaburi province were studied by using self-administered questionnaires and General Health Questionnaire-28 Thai version during February to September 1997 The result revealed that factors associated with mental health problem were type of factory, age, marital status, husband/wife relationship, relatives relationship, their own health perception within last year, their own life problem perception, taking antipyretic and transquillizer drug, the way they practice when they got physical health troubles by consulting doctors asking for suggestion, rest, taking traditional medicine, consulting friends, leaving it by do nothing, the way they practice when they got mental health troubles by consulting family members or friends, practicing meditation, listening a song, playing sport, rest, staying alone. The characteristics of high mental health problem group were younger age, widow/separate/divorce, very bad relationship with husband/wife, very bed relationship with relatives, their own health perception: not health, had life problems. The factors used in analysis of variance model found that sex, age and marital status was the best fitted model. Age and marital status showed significant association with mental health score; it showed that younger age, widow/separate/divorce had highest mental health score. This model could predict the variation of mental health score of 43%. The physical and mental health services demanded by the employee were study tour, recreation in the work place, counseling clinic in the work place for physical and mental health problems, health education corner which provided with poster and video, health garden, sport, stadium, psyschiatrist, safety in the work place and salary. ทุนสนับสนุนจากงบประมาณแผ่นดินประจำปี พ.ศ. 2540 2012-11-16T07:46:02Z 2020-09-21T03:05:40Z 2012-11-16T07:46:02Z 2020-09-21T03:05:40Z 2540 Research Report https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/58700 tha มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยมหิดล 35.4 mb application/pdf