การพัฒนารูปแบบการลดความเครียดและการสร้างเสริมความสามารถในการทำงานของแรงงานไทย: รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์

ก-ฌ, 95 แผ่น : ภาพประกอบ (ภาพสีบางภาพ) ; 30 ซม. + บทสรุปสำหรับผู้บริหาร 1 เล่ม

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: อรวรรณ แก้วบุญชู, สำลี สาลีกุล, มัธณา ตอมพุดซา
Format: Research Report
Language:Thai
Published: 2011
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/58838
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.58838
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic ความเครียด (จิตวิทยา)
ความเครียดในการทำงาน
แรงงาน
วิจัย
สุขภาพจิต
spellingShingle ความเครียด (จิตวิทยา)
ความเครียดในการทำงาน
แรงงาน
วิจัย
สุขภาพจิต
อรวรรณ แก้วบุญชู
สำลี สาลีกุล
มัธณา ตอมพุดซา
การพัฒนารูปแบบการลดความเครียดและการสร้างเสริมความสามารถในการทำงานของแรงงานไทย: รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์
description ก-ฌ, 95 แผ่น : ภาพประกอบ (ภาพสีบางภาพ) ; 30 ซม. + บทสรุปสำหรับผู้บริหาร 1 เล่ม
format Research Report
author อรวรรณ แก้วบุญชู
สำลี สาลีกุล
มัธณา ตอมพุดซา
author_facet อรวรรณ แก้วบุญชู
สำลี สาลีกุล
มัธณา ตอมพุดซา
author_sort อรวรรณ แก้วบุญชู
title การพัฒนารูปแบบการลดความเครียดและการสร้างเสริมความสามารถในการทำงานของแรงงานไทย: รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์
title_short การพัฒนารูปแบบการลดความเครียดและการสร้างเสริมความสามารถในการทำงานของแรงงานไทย: รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์
title_full การพัฒนารูปแบบการลดความเครียดและการสร้างเสริมความสามารถในการทำงานของแรงงานไทย: รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์
title_fullStr การพัฒนารูปแบบการลดความเครียดและการสร้างเสริมความสามารถในการทำงานของแรงงานไทย: รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์
title_full_unstemmed การพัฒนารูปแบบการลดความเครียดและการสร้างเสริมความสามารถในการทำงานของแรงงานไทย: รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์
title_sort การพัฒนารูปแบบการลดความเครียดและการสร้างเสริมความสามารถในการทำงานของแรงงานไทย: รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์
publishDate 2011
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/58838
_version_ 1781416534714875904
spelling th-mahidol.588382023-04-12T15:37:42Z การพัฒนารูปแบบการลดความเครียดและการสร้างเสริมความสามารถในการทำงานของแรงงานไทย: รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์การพัฒนารูปแบบการลดความเครียดและการสร้างเสริมความสามารถในการทำงานของแรงงานไทย Model development for stress reduction and work ability promotion among the Thai workforce อรวรรณ แก้วบุญชู สำลี สาลีกุล มัธณา ตอมพุดซา ความเครียด (จิตวิทยา) ความเครียดในการทำงาน แรงงาน วิจัย สุขภาพจิต ก-ฌ, 95 แผ่น : ภาพประกอบ (ภาพสีบางภาพ) ; 30 ซม. + บทสรุปสำหรับผู้บริหาร 1 เล่ม ความเครียดจากการทำงาน เป็นปัญหาสำคัญทางด้านอาชีวอนามัย ซึ่งส่งผลกระทบต่อสุขภาพและความสามารถในการทำงานของบุคคล การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการลดความเครียดจากการทำงานและเสริมความสามารถในการทำงานของแรงงานไทย โดยแบ่งการศึกษาออกเป็น 2 ขั้นตอน คือ 1 ) การศึกษาภาคตัดขวางเพื่อสำรวจสถานการณ์ความเครียด และระดับความสามารถในการทำงานของแรงงานไทยกลุ่มตัวอย่างคือ พนักงานที่ปฏิบัติงานในสถานประกอบการขนาดเล็ก ที่สุ่มเลือกจากจังหวัดเชียงใหม่ ตรัง ระยอง นครราชสีมา พระนครศรีอยุธยา และกรุงเทพมหานคร จำนวน 2008 คน เป็นเพศชาย 845 คน เพศหญิง 1163 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ ความเครียดจากการทำงาน ความสามารถในการทำงาน พฤติกรรมสุขภาพและสภาวะการทำงาน รวมทั้งการตรวจวักความดันโลหิต ชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูง ใช้สถิติเชิงพรรณนาเพื่อหาค่าเฉลี่ย และค่าร้อยละเปรียบเทียบระหว่างกลุ่ม โดยสถิติ T-test และหาความสัมพันธ์ของตัวแปร โดยสถิติ Chi-square, ANOVA และ Multiple Regression 2) การพัฒนารูปแบบการลดความเครียดจากการทำงานและการสร้างเสริมความสามารถในการทำงานโดยใช้รูปแบบการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเป็นเครื่องมือในการพัฒนา เลือกศึกษาสถานประกอบการในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการทำ Content analysis และ วิเคราะห์เปรียบเทียบข้อมูลก่อนและหลังการดำเนินโครงการโดยสถิติ Chi-square ผลการวิจัยพบว่าพนักงานมากกว่าครึ่งมีความเครียดจากการทำงาน โดยที่เพศหญิงมีความเครียดสูงกว่า และการรับรู้การควบคุมงานต่ำกว่าเพศชาย ค่าเฉลี่ยความสามารถในการทำงานของผู้บริหาร หัวหน้างาน และผู้ปฏิบัติงานเท่ากับ 42.3, 41.4 และ 39.8 ตามลำดับจัดอยู่ในระดับดีความสามารถในการทำงานของเพศหญิงจะลดลงอย่างชัดเจนเมื่ออายุตั้งแต่ 45 ปีขึ้นไป ผู้บริหารและหัวหน้างานมีการรับรู้การควบคุมงานสูงกว่าพนักงานระดับปฏิบัติการ ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความสามารถในการทำงานคือ ภาวะสุขภาพจิต แรงสนับสนุนทางสังคม ภาวะซึมเศร้า และอายุ โดยที่ภาวะซึมเศร้าพบเฉพาะในเพศชาย รูปแบบการลดความเครียดจากการทำงานในสถานประกอบการขนาดกลางและขนาดเล็กมีโครงสร้างของทีมงานผู้รับผิดชอบ ประกอบด้วย พนักงาน ผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบด้านสุขภาพและความปลอดภัย ดำเนินการพัฒนารูปแบบโดยใช้การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเป็นเครื่องมือในการพัฒนา เพื่อให้การดำเนินโครงการได้รับประเมินและปรับเปลี่ยนอย่างต่อเนื่องทำให้เกิดความยั่งยืนในระยะยาว ขั้นตอนการพัฒนารูปแบบที่ได้จากการศึกษาครั้งนี้ ประกอบด้วยขั้นตอนต่างๆ ดังนี้ 1. เตรียมความพร้อมและสร้างความตระหนักของสถานประกอบการ 2. วิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยงที่เป็นสาเหตุของความเครียดจากการทำงาน 3. กำหนดกลุ่มเสี่ยงเพื่อดำเนินโครงการ 4. พัฒนาแผนปฏิบัติการและนำแผนสู่การปฏิบัติจริง 5. ติดตามประเมินผลกระบวนการและผลลัพธ์ของโครงการ Job Stress is major problem in occupational health which affects health and ability. This Study aimed to develop a model of stress reduction and work ability promotion for the Thai workforce. The study was divided into two phases, situation analysis of job stress and work ability among workers in Thailand and model development for job stress reduction and work ability promotion. For phase one, the subjects consisted of 2008 workers, 845 male and 1163 female who worked in small and medium enterprises (SME). The subjects were interviewed regarding personal information, working conditions, health status, job stress and work ability. Their blood pressure, body weight and height were also measured. For phase two, enterprises in Ayuthaya Province were selected. Participatory action research (PAR) was used as a tool to develop the model. Data collection was done using quantitative methods such as observing, in-depth interviews questionnaires and health examination. Results revealed that more than half of the subjects reported high job stress. Women had higher job stress than men. Work ability index (WAI) in managers, supervisors and operators were 42.3, 41.4 and 39.8, respectively. These ranked in the good level. Managers and supervisors reported their perception of job control was higher than those of operators. The WAI among female workers decreased with increasing age, especially in those more than 45 years old. The factors related to WAI were mental health status, social support at work, depression and age. However, depression was found only in men. In terms of job stress reduction and work ability promotion for SME, results of this study suggest the following. 1. Team structure should consist of workers, managers and health personnel. 2. Model development tool should be Par. 3. Model development processes should include raising awareness of the company, analysis of risk factors and risk groups, design action plan and implement of the process and outcome of the implementation. ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ปีงบประมาณ 2550 2011-02-22T07:36:52Z 2011-08-26T08:43:42Z 2020-10-05T03:32:37Z 2011-02-22T07:36:52Z 2011-08-26T08:43:42Z 2020-10-05T03:32:37Z 2554-02-22 2552 Research Report https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/58838 tha Mahidol University สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ 56858318 bytes application/pdf