คุณภาพชีวิตของผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ในจังหวัดนราธิวาส : การประเมินโดยประยุกต์แบบวัด WHOQOL-HIV-BREF ขององค์การอนามัยโลก
96 แผ่น ; 29 ซม
Saved in:
Main Authors: | , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Research Report |
Language: | Thai |
Published: |
2010
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/58882 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.58882 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
ผู้ติดเชื้อเอชไอวี ผู้ป่วย คุณภาพชีวิต โรคเอดส์ นราธิวาส ไทย การประเมิน |
spellingShingle |
ผู้ติดเชื้อเอชไอวี ผู้ป่วย คุณภาพชีวิต โรคเอดส์ นราธิวาส ไทย การประเมิน ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์ วันเพ็ญ แก้วปาน คุณภาพชีวิตของผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ในจังหวัดนราธิวาส : การประเมินโดยประยุกต์แบบวัด WHOQOL-HIV-BREF ขององค์การอนามัยโลก |
description |
96 แผ่น ; 29 ซม |
author2 |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์ |
author_facet |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์ ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์ วันเพ็ญ แก้วปาน |
format |
Research Report |
author |
ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์ วันเพ็ญ แก้วปาน |
author_sort |
ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์ |
title |
คุณภาพชีวิตของผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ในจังหวัดนราธิวาส : การประเมินโดยประยุกต์แบบวัด WHOQOL-HIV-BREF ขององค์การอนามัยโลก |
title_short |
คุณภาพชีวิตของผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ในจังหวัดนราธิวาส : การประเมินโดยประยุกต์แบบวัด WHOQOL-HIV-BREF ขององค์การอนามัยโลก |
title_full |
คุณภาพชีวิตของผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ในจังหวัดนราธิวาส : การประเมินโดยประยุกต์แบบวัด WHOQOL-HIV-BREF ขององค์การอนามัยโลก |
title_fullStr |
คุณภาพชีวิตของผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ในจังหวัดนราธิวาส : การประเมินโดยประยุกต์แบบวัด WHOQOL-HIV-BREF ขององค์การอนามัยโลก |
title_full_unstemmed |
คุณภาพชีวิตของผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ในจังหวัดนราธิวาส : การประเมินโดยประยุกต์แบบวัด WHOQOL-HIV-BREF ขององค์การอนามัยโลก |
title_sort |
คุณภาพชีวิตของผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ในจังหวัดนราธิวาส : การประเมินโดยประยุกต์แบบวัด whoqol-hiv-bref ขององค์การอนามัยโลก |
publishDate |
2010 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/58882 |
_version_ |
1781416171546869760 |
spelling |
th-mahidol.588822023-04-12T15:33:50Z คุณภาพชีวิตของผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ในจังหวัดนราธิวาส : การประเมินโดยประยุกต์แบบวัด WHOQOL-HIV-BREF ขององค์การอนามัยโลก Quality of life of HIV infected and AIDS patients in Naratiwat Province : evaluation by WHOQOL-HIV-BREF รายงานวิจัยคุณภาพชีวิตของผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ในจังหวัดนราธิวาส : การประเมินโดยประยุกต์แบบวัด WHOQOL-HIV-BREF ขององค์การอนามัยโลก ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์ วันเพ็ญ แก้วปาน มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์ ผู้ติดเชื้อเอชไอวี ผู้ป่วย คุณภาพชีวิต โรคเอดส์ นราธิวาส ไทย การประเมิน 96 แผ่น ; 29 ซม การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินคุณภาพชีวิตของผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ที่รับบริการในคลินิกเอดส์ของโรงพยาบาลสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส ระหว่างเดือนกันยายน – ธันวาคม 2549 ซึ่งยินยอมตอบแบบสอบถามจำนวน 186 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยแบบสอบถามที่ดัดแปลงจากแบบวัดคุณภาพชีวิต WHOQOL-HIV-BREF ขององค์การอนามัยโลก วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติร้อยละ ค่ามัชฌิมเลขคณิต และวิเคราะห์ความสัมพันธระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล (เพศ อายุ การศึกษา สถานภาพ สมรส อาชีพ รายได้ และการนับถือศาสนา) การรับรู้ภาวสุขภาพ การได้รับการดูแลจากบุคคลในครอบครัว ปริมาณ CD4 และภาวะแทรกซ้อนกับคุณภาพชีวิตด้วยสถิติไคว์-สแควร์และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า ผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ส่วนใหญ่มีคุณภาพชีวิตโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 77.7 และเมื่อจำแนกตามองค์ประกอบ 6 ด้านของคุณภาพชีวิต พบว่าคุณภาพชีวิตด้านร่างกาย จิตใจ ความรู้สึกเป็นอิสระ สัมพันธภาพทางสังคม สิ่งแวดล้อม และจิตวิญญาณ อยู่ในระดับปานกลางทุกด้าน ร้อยละ 73.8, 72.9, 57.7, 79.3, 72.0 และ 58.4 ตามลำดับ ปัจจัยส่วนบุคคล (ได้แก่ การนับถือศาสนา) และภาวะแทรกซ้อน มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตโดยรวมอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 การรับรู้ภาวะสุขภาพมีความสัมพันธ์เชิงลบกับคุณภาพชีวิตโดยรวมอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 (r= - 0.345) ในขณะที่การได้รับการดูแลจากบุคคลในครอบครัว และปริมาณ CD4 มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับคุณภาพชีวิตโดยรวมอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 (r= 0.253 และ 0.247 ตามลำดับ) ดังนั้นบุคลากรในคลินิกเอดส์ควรสอนผู้รับบริการและครอบครัวเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองอย่างเหมาะสม ให้การรักษาเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน ติดตามเยี่ยมบ้านเพื่อดูแลอย่างต่อเนื่องและให้ได้รับยาอย่างสม่ำเสมอ The objective of this research was to examine quality of life of HIV infected and AIDS patients. Subjects were 186 HIV infected and AIDS patients simple random sampling from AIDS clinics at September to December 2006 in Sungaikolok hospital, Narathiwat province. Data were collected by questionnaire modified from quality of life scale developed by World Health Organization WHOQOL-HIV-BREF. The questionnaires were analyzed by statistical software package using percentage and mean. Relationships between personal factors including gender, age, education, marital status, occupation, income, religion, perceived health status, receiving care from family, CD4 level, complication, and quality of life were determined by Chi-square and Pearson’s Product Moment Correlation Coefficients. Results showed that majority of HIV infected and AIDS patients (77.7%) had overall quality of life at moderate level. Considering 6 aspects of quality of life, it was found that most of the patients had a moderately level of quality of life in physical, psychological, level of independence, social relationship, environmental, and spiritual domain (73.8, 72.9, 57.7, 79.3, 72.0, and 58.4%, respectively). Personal factors including religion and complication were significantly related to overall quality of life (p<0.05). Also, perceived health status was negatively related to overall quality of life (r= - 0.345, p<0.05.) while receiving care from family, and CD4 level were positively related to overall quality of life (r=0.253, and 0.247, p<0.05.) Findings suggested that, to enhance the quality of life of HIV infected and AIDS patients, AIDS clinics should provide an appropriate knowledge of self-care foe patients and family, treatment to prevention complication, home visit for continuous care and continuous medication 2010-11-17T03:22:10Z 2011-08-26T09:09:50Z 2020-10-05T03:34:22Z 2010-11-17T03:22:10Z 2011-08-26T09:09:50Z 2020-10-05T03:34:22Z 2553-11-17 2550 Research Report 9789741107988 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/58882 tha มหาวิทยาลัยมหิดล 45152545 bytes application/pdf |