ผลของโปรแกรมฉลาดบริโภคเพื่อส่งเสริมการบริโภคอาหารตามหลักโภชนาการของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จังหวัดนนทบุรี
การวิจัยกึ่งทดลองนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมการบริโภคอาหารตามหลักโภชนาการในนักเรียน โดยประยุกต์ทฤษฎีปัญญาสังคม กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 64 คน จาก 2 โรงเรียนในอำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี โดยการสุ่มอย่างง่ายเพื่อเลือกโรงเรียน โดยมีนักเรียนกลุ่มทดลอง จ...
Saved in:
Main Authors: | , , , , , , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
2020
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/60294 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.60294 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
การบริโภคอาหารตามหลักโภชนาการ ทฤษฎีปัญญาสังคม นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 Nutritious food consumption Social cognitive theory Grade four students |
spellingShingle |
การบริโภคอาหารตามหลักโภชนาการ ทฤษฎีปัญญาสังคม นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 Nutritious food consumption Social cognitive theory Grade four students อาจรีย์ แม่นปืน มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์ สุปรียา ตันสกุล นิรัตน์ อิมามี Achari Maenpuen Manirat Therawiwat Supreya Tansakul Nirat Imamee ผลของโปรแกรมฉลาดบริโภคเพื่อส่งเสริมการบริโภคอาหารตามหลักโภชนาการของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จังหวัดนนทบุรี |
description |
การวิจัยกึ่งทดลองนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมการบริโภคอาหารตามหลักโภชนาการในนักเรียน โดยประยุกต์ทฤษฎีปัญญาสังคม กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 64 คน จาก 2 โรงเรียนในอำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี โดยการสุ่มอย่างง่ายเพื่อเลือกโรงเรียน โดยมีนักเรียนกลุ่มทดลอง จำนวน 32 คน และกลุ่มเปรียบเทียบ จำนวน 32 คน ระยะเวลาศึกษารวม 7 สัปดาห์ โดยกลุ่มทดลอง ได้รับโปรแกรมฉลาดบริโภคเพื่อส่งเสริมความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการบริโภคอาหารตามหลักโภชนาการ ประกอบด้วยกิจกรรมการบรรยายให้ความรู้ การเล่นเกม การดูวีดิทัศน์ การทำกิจกรรมระดมสมอง การฝึกปฏิบัติ ทำอาหารอย่างง่าย การเรียนรู้จากตัวแบบที่มีพฤติกรรมที่ถูกต้อง ส่วนกลุ่มเปรียบเทียบได้รับการสอนจาก หลักสูตรปกติของโรงเรียน รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามแบบตอบด้วยตนเอง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ จำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน Paired t-test และ Independent t-test
ผลการวิจัยพบว่า หลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความรู้เรื่องอาหารตามหลักโภชนาการ สูงกว่าก่อนการทดลองและสูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ส่วนทัศนคติต่อการบริโภคอาหาร กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยทัศนคติต่อการบริโภคอาหารตามหลักโภชนาการสูงกว่าก่อนการทดลองและสูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ แต่ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p>0.05) และพฤติกรรมการบริโภคอาหารตามหลักโภชนาการ กลุ่มทดลองมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารตามหลักโภชนาการสูงกว่าก่อนการทดลอง และสูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) สรุปได้ว่าโปรแกรมฉลาดบริโภคเพื่อส่งเสริมการ บริโภคอาหารตามหลักโภชนาการ มีผลทำให้กลุ่มทดลองมีความรู้ ทัศนคติและพฤติกรรมการบริโภคอาหารตามหลักโภชนาการเพิ่มขึ้น สามารถนำไปประยุกต์ใช้กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาได้ |
author2 |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์ |
author_facet |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์ อาจรีย์ แม่นปืน มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์ สุปรียา ตันสกุล นิรัตน์ อิมามี Achari Maenpuen Manirat Therawiwat Supreya Tansakul Nirat Imamee |
format |
Article |
author |
อาจรีย์ แม่นปืน มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์ สุปรียา ตันสกุล นิรัตน์ อิมามี Achari Maenpuen Manirat Therawiwat Supreya Tansakul Nirat Imamee |
author_sort |
อาจรีย์ แม่นปืน |
title |
ผลของโปรแกรมฉลาดบริโภคเพื่อส่งเสริมการบริโภคอาหารตามหลักโภชนาการของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จังหวัดนนทบุรี |
title_short |
ผลของโปรแกรมฉลาดบริโภคเพื่อส่งเสริมการบริโภคอาหารตามหลักโภชนาการของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จังหวัดนนทบุรี |
title_full |
ผลของโปรแกรมฉลาดบริโภคเพื่อส่งเสริมการบริโภคอาหารตามหลักโภชนาการของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จังหวัดนนทบุรี |
title_fullStr |
ผลของโปรแกรมฉลาดบริโภคเพื่อส่งเสริมการบริโภคอาหารตามหลักโภชนาการของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จังหวัดนนทบุรี |
title_full_unstemmed |
ผลของโปรแกรมฉลาดบริโภคเพื่อส่งเสริมการบริโภคอาหารตามหลักโภชนาการของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จังหวัดนนทบุรี |
title_sort |
ผลของโปรแกรมฉลาดบริโภคเพื่อส่งเสริมการบริโภคอาหารตามหลักโภชนาการของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จังหวัดนนทบุรี |
publishDate |
2020 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/60294 |
_version_ |
1763490176785448960 |
spelling |
th-mahidol.602942023-03-30T15:54:52Z ผลของโปรแกรมฉลาดบริโภคเพื่อส่งเสริมการบริโภคอาหารตามหลักโภชนาการของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จังหวัดนนทบุรี Effects of Eat Smart Program to Promote Nutritional Diet of Grade Four Students, Nonthaburi Province, Thailand อาจรีย์ แม่นปืน มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์ สุปรียา ตันสกุล นิรัตน์ อิมามี Achari Maenpuen Manirat Therawiwat Supreya Tansakul Nirat Imamee มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎราชนครินทร์. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาการจัดการสาธารณสุข การบริโภคอาหารตามหลักโภชนาการ ทฤษฎีปัญญาสังคม นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 Nutritious food consumption Social cognitive theory Grade four students การวิจัยกึ่งทดลองนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมการบริโภคอาหารตามหลักโภชนาการในนักเรียน โดยประยุกต์ทฤษฎีปัญญาสังคม กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 64 คน จาก 2 โรงเรียนในอำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี โดยการสุ่มอย่างง่ายเพื่อเลือกโรงเรียน โดยมีนักเรียนกลุ่มทดลอง จำนวน 32 คน และกลุ่มเปรียบเทียบ จำนวน 32 คน ระยะเวลาศึกษารวม 7 สัปดาห์ โดยกลุ่มทดลอง ได้รับโปรแกรมฉลาดบริโภคเพื่อส่งเสริมความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการบริโภคอาหารตามหลักโภชนาการ ประกอบด้วยกิจกรรมการบรรยายให้ความรู้ การเล่นเกม การดูวีดิทัศน์ การทำกิจกรรมระดมสมอง การฝึกปฏิบัติ ทำอาหารอย่างง่าย การเรียนรู้จากตัวแบบที่มีพฤติกรรมที่ถูกต้อง ส่วนกลุ่มเปรียบเทียบได้รับการสอนจาก หลักสูตรปกติของโรงเรียน รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามแบบตอบด้วยตนเอง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ จำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน Paired t-test และ Independent t-test ผลการวิจัยพบว่า หลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความรู้เรื่องอาหารตามหลักโภชนาการ สูงกว่าก่อนการทดลองและสูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ส่วนทัศนคติต่อการบริโภคอาหาร กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยทัศนคติต่อการบริโภคอาหารตามหลักโภชนาการสูงกว่าก่อนการทดลองและสูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ แต่ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p>0.05) และพฤติกรรมการบริโภคอาหารตามหลักโภชนาการ กลุ่มทดลองมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารตามหลักโภชนาการสูงกว่าก่อนการทดลอง และสูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) สรุปได้ว่าโปรแกรมฉลาดบริโภคเพื่อส่งเสริมการ บริโภคอาหารตามหลักโภชนาการ มีผลทำให้กลุ่มทดลองมีความรู้ ทัศนคติและพฤติกรรมการบริโภคอาหารตามหลักโภชนาการเพิ่มขึ้น สามารถนำไปประยุกต์ใช้กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาได้ This quasi-experimental study aimed to study effects of the Eat Smart Program to promote a nutritious diet among students by applying the Social Cognitive Theory. The sample group of 64 students in the 4th grade from two schools in Bangbuathong, Nonthaburi, was selected using simple random sampling technique. The samples were composed of 32 elementary school students in the experimental group, and 32 elementary school students in the comparison group. The study period was seven weeks. The experimental group received learning activities, including attending lectures, playing games, watching videos, brainstorming, simple cooking practice and learning through modeling. The comparison group received standard health education from school. Data were collected by self-administered questionnaire and analyzed using frequency, percentage, arithmetic mean and standard deviation, Paired t-test and Independent t-test. The results showed that, after the intervention, the experimental group had knowledge about nutritious food consumption scores which were significantly higher than before the intervention, and higher than the comparison group (p<0.05). The experimental group had attitudes toward nutritious food consumption scores higher than before the intervention, and higher than the comparison group, but there was no significant difference (p>0.05). The experimental group also had a nutritious food consumption behaviors score that was significantly higher than before the intervention, and higher than the comparison group (p<0.05). The application of the Eat Smart Program to promote a nutritious diet was effective and increased knowledge, attitudes, and behaviors in the consumption of nutritious food. This program should be applied to promote nutritious food consumption among children. 2020-12-17T16:20:35Z 2020-12-17T16:20:35Z 2563-12-17 2561 Research Article วารสารสุขศึกษา. ปีที่ 41, ฉบับที่ 1 (ม.ค.- มิ.ย. 2561), 126-137 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/60294 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf |