ผลของการใช้แนวคิดแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพกับการบริหารร่างกายแบบฤๅษีดัดตนในกลุ่มปวดกล้ามเนื้อหลังส่วนบนเรื้อรังเขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร

งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยกึ่งทดลองชนิดวัดสองกลุ่มก่อนและหลังทดลอง เพื่อศึกษาผลของการใช้แนวคิดแบบแผน ความเชื่อด้านสุขภาพกับการบริหารร่างกายแบบฤๅษีดัดตนในผู้ป่วยกลุ่มปวดกล้ามเนื้อหลังส่วนบนเรื้อรังในเขตศูนย์บริการ สาธารณสุข 44 ลำผักชี หนองจอก กรุงเทพมหานคร สาขาลำแบนชะโด กลุ่มตัวอย่าง คือผู้ป่วยกลุ่มปวดก...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: กัลยาพร เติมนาค, สุปรียา ตันสกุล, มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์, นิรัตน์ อิมามี, ณภัทร พานิขการ, Kalayaporn Termnark, Supreya Tansakul, Maneerat Terawiwat, Nirat Imamee, Naphat Panichakan
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2020
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/60311
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.60311
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ
การบริหารร่างกายแบบฤๅษีดัดตน
กล้ามเนื้อหลังส่วนบน
Health Belief Model
Hermit Contortion Exercise
Chronic upper back pain
spellingShingle แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ
การบริหารร่างกายแบบฤๅษีดัดตน
กล้ามเนื้อหลังส่วนบน
Health Belief Model
Hermit Contortion Exercise
Chronic upper back pain
กัลยาพร เติมนาค
สุปรียา ตันสกุล
มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์
นิรัตน์ อิมามี
ณภัทร พานิขการ
Kalayaporn Termnark
Supreya Tansakul
Maneerat Terawiwat
Nirat Imamee
Naphat Panichakan
ผลของการใช้แนวคิดแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพกับการบริหารร่างกายแบบฤๅษีดัดตนในกลุ่มปวดกล้ามเนื้อหลังส่วนบนเรื้อรังเขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร
description งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยกึ่งทดลองชนิดวัดสองกลุ่มก่อนและหลังทดลอง เพื่อศึกษาผลของการใช้แนวคิดแบบแผน ความเชื่อด้านสุขภาพกับการบริหารร่างกายแบบฤๅษีดัดตนในผู้ป่วยกลุ่มปวดกล้ามเนื้อหลังส่วนบนเรื้อรังในเขตศูนย์บริการ สาธารณสุข 44 ลำผักชี หนองจอก กรุงเทพมหานคร สาขาลำแบนชะโด กลุ่มตัวอย่าง คือผู้ป่วยกลุ่มปวดกล้ามเนื้อหลังส่วนบนเรื้อรัง อายุ 30 ปีขึ้นไป กลุ่มทดลอง จำนวน 29 คน และกลุ่มเปรียบเทียบ จำนวน 30 คน โดยกลุ่มทดลองได้รับการจัดโปรแกรมสุขศึกษา จำนวน 7 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 1 ครั้ง ครั้งละ 1-2 ชั่วโมง ส่วนกลุ่มเปรียบเทียบได้รับคู่มือและโปสเตอร์ ฤๅษีดัดตน 2 ท่า เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น มีค่าความเที่ยง 0.7004 และแบบบันทึกพิสัยการ เคลื่อนไหวของข้อไหล่ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ Pair Samples t – test และ Independent t – test ผลการทดลอง พบว่า หลังการทดลอง กลุ่มทดลอง มีคะแนนเฉลี่ยการรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดกลุ่มอาการปวดกล้ามเนื้อและเนื้อเยื่อพังผืดมัยโอฟาสเชี่ยลส่วนบนเรื้อรัง การรับรู้ความรุนแรงต่ออาการปวดกล้ามเนื้อหลังส่วนบน การรับรู้ประโยชน์ของการบริหาร ร่างกายแบบฤๅษีดัดตน การรับรู้อุปสรรคของการบริหารร่างกายแบบฤๅษีดัดตน การรับรู้ความสามารถตนเองในการบริหาร ร่างกายแบบฤๅษีดัดตน พฤติกรรมการบริหารร่างกายแบบฤๅษีดัดตน และพิสัยการเคลื่อนไหวของข้อไหล่ดีขึ้นกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ระดับความปวดลดลงกว่าก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value<0.001) เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการบริหารร่างกายแบบฤๅษีดัดตนระหว่างกลุ่มหลังการทดลอง พบว่า มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ดังนั้น โปรแกรมการประยุกต์แนวคิดแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพกับการบริหารร่างกายแบบฤๅษีดัดตน สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ พิสัยการเคลื่อนไหวของข้อไหล่ และ ระดับความปวดได้
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
กัลยาพร เติมนาค
สุปรียา ตันสกุล
มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์
นิรัตน์ อิมามี
ณภัทร พานิขการ
Kalayaporn Termnark
Supreya Tansakul
Maneerat Terawiwat
Nirat Imamee
Naphat Panichakan
format Article
author กัลยาพร เติมนาค
สุปรียา ตันสกุล
มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์
นิรัตน์ อิมามี
ณภัทร พานิขการ
Kalayaporn Termnark
Supreya Tansakul
Maneerat Terawiwat
Nirat Imamee
Naphat Panichakan
author_sort กัลยาพร เติมนาค
title ผลของการใช้แนวคิดแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพกับการบริหารร่างกายแบบฤๅษีดัดตนในกลุ่มปวดกล้ามเนื้อหลังส่วนบนเรื้อรังเขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร
title_short ผลของการใช้แนวคิดแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพกับการบริหารร่างกายแบบฤๅษีดัดตนในกลุ่มปวดกล้ามเนื้อหลังส่วนบนเรื้อรังเขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร
title_full ผลของการใช้แนวคิดแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพกับการบริหารร่างกายแบบฤๅษีดัดตนในกลุ่มปวดกล้ามเนื้อหลังส่วนบนเรื้อรังเขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร
title_fullStr ผลของการใช้แนวคิดแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพกับการบริหารร่างกายแบบฤๅษีดัดตนในกลุ่มปวดกล้ามเนื้อหลังส่วนบนเรื้อรังเขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร
title_full_unstemmed ผลของการใช้แนวคิดแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพกับการบริหารร่างกายแบบฤๅษีดัดตนในกลุ่มปวดกล้ามเนื้อหลังส่วนบนเรื้อรังเขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร
title_sort ผลของการใช้แนวคิดแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพกับการบริหารร่างกายแบบฤๅษีดัดตนในกลุ่มปวดกล้ามเนื้อหลังส่วนบนเรื้อรังเขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร
publishDate 2020
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/60311
_version_ 1763497645885620224
spelling th-mahidol.603112023-03-31T05:17:55Z ผลของการใช้แนวคิดแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพกับการบริหารร่างกายแบบฤๅษีดัดตนในกลุ่มปวดกล้ามเนื้อหลังส่วนบนเรื้อรังเขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร Effects of the application of health belief model and behavior of hermit contortion exercise for chronic upper back pain at Nong Chok district, Bangkok กัลยาพร เติมนาค สุปรียา ตันสกุล มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์ นิรัตน์ อิมามี ณภัทร พานิขการ Kalayaporn Termnark Supreya Tansakul Maneerat Terawiwat Nirat Imamee Naphat Panichakan มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์ แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ การบริหารร่างกายแบบฤๅษีดัดตน กล้ามเนื้อหลังส่วนบน Health Belief Model Hermit Contortion Exercise Chronic upper back pain งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยกึ่งทดลองชนิดวัดสองกลุ่มก่อนและหลังทดลอง เพื่อศึกษาผลของการใช้แนวคิดแบบแผน ความเชื่อด้านสุขภาพกับการบริหารร่างกายแบบฤๅษีดัดตนในผู้ป่วยกลุ่มปวดกล้ามเนื้อหลังส่วนบนเรื้อรังในเขตศูนย์บริการ สาธารณสุข 44 ลำผักชี หนองจอก กรุงเทพมหานคร สาขาลำแบนชะโด กลุ่มตัวอย่าง คือผู้ป่วยกลุ่มปวดกล้ามเนื้อหลังส่วนบนเรื้อรัง อายุ 30 ปีขึ้นไป กลุ่มทดลอง จำนวน 29 คน และกลุ่มเปรียบเทียบ จำนวน 30 คน โดยกลุ่มทดลองได้รับการจัดโปรแกรมสุขศึกษา จำนวน 7 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 1 ครั้ง ครั้งละ 1-2 ชั่วโมง ส่วนกลุ่มเปรียบเทียบได้รับคู่มือและโปสเตอร์ ฤๅษีดัดตน 2 ท่า เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น มีค่าความเที่ยง 0.7004 และแบบบันทึกพิสัยการ เคลื่อนไหวของข้อไหล่ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ Pair Samples t – test และ Independent t – test ผลการทดลอง พบว่า หลังการทดลอง กลุ่มทดลอง มีคะแนนเฉลี่ยการรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดกลุ่มอาการปวดกล้ามเนื้อและเนื้อเยื่อพังผืดมัยโอฟาสเชี่ยลส่วนบนเรื้อรัง การรับรู้ความรุนแรงต่ออาการปวดกล้ามเนื้อหลังส่วนบน การรับรู้ประโยชน์ของการบริหาร ร่างกายแบบฤๅษีดัดตน การรับรู้อุปสรรคของการบริหารร่างกายแบบฤๅษีดัดตน การรับรู้ความสามารถตนเองในการบริหาร ร่างกายแบบฤๅษีดัดตน พฤติกรรมการบริหารร่างกายแบบฤๅษีดัดตน และพิสัยการเคลื่อนไหวของข้อไหล่ดีขึ้นกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ระดับความปวดลดลงกว่าก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value<0.001) เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการบริหารร่างกายแบบฤๅษีดัดตนระหว่างกลุ่มหลังการทดลอง พบว่า มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ดังนั้น โปรแกรมการประยุกต์แนวคิดแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพกับการบริหารร่างกายแบบฤๅษีดัดตน สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ พิสัยการเคลื่อนไหวของข้อไหล่ และ ระดับความปวดได้ This study was a quasi-experimental research; randomized control group-pretest posttest group design. To study the effects of application of Health Belief Model and Hermit Contortion Exercise for patients with chronic upper back pain, age > 30 years who resided in the areas responsible by the Public Health Services Center No. 44, Lumphugchee, Nongchok, Lumbanchado Branch, Bangkok. The data were collected from 59 sampled patients, 29 from the experimental group and 30 from the comparison group by using the interview schedule which was the reliability value =0.7004.The experimental group received the health education program for 7 times, 1-2 hours each time every Sunday. For the comparison group, before the experimentation, the patients received the manual of 2 sets of Hermit Contortion Exercise and the poster on the 2 sets of Hermit Contortion Exercise for the upper back muscle group. Difference comparison analysis of the mean scores within the experimental and the comparison groups, before and after the experimentation, was done by computing Paired Sample t-test and Independent t-test. After the experimentation, the perceived susceptibility, perceived severity, perceived benefits, the perceived barriers, the perceived self-efficacy, hermit contortion behavior and shoulder range of motion mean score of the experimental group was found to be significantly better than before the experimentation (p<0.05) and than the comparison group (p<0.05). The significantly lower level of pain of the experimental group was found (p-value < 0.001). The hermit contortion behavior was found to be significantly differentiate from the comparison group (p<0.05). Effects of the application of Health Belief Model and Hermit Contortion Exercise can change hermit contortion behavior, shoulder range of motion, and pain level. 2020-12-21T15:29:29Z 2020-12-21T15:29:29Z 2563-12-21 2560 Research Article วารสารสุขศึกษา. ปีที่ 40, ฉบับที่ 1 (ม.ค.- มิ.ย. 2560), 131-146 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/60311 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf