ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริโภคอาหารในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่2

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริโภคอาหารของผู้ป่วย เบาหวานชนิดที่2 ที่มารับบริการตรวจรักษาที่มิตรไมตรีคลินิกเวชกรรม โดยประยุกต์แนวคิด PRECEDE Model เป็นกรอบแนวคิดการวิจัย กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นเบาหวานชนิดที่2 อายุ 35ปีขึ้นไป...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ศิริพร นิธิวัฒน์, สุปรียา ตันสกุล, มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์, นิรัตน์ อิมามี, Siriporn Nitiwat, Supreya Tansakul, Manirat Therawiwat, Nirat Imamee
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2020
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/60639
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.60639
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic พฤติกรรมการบริโภคอาหาร
ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2
คลินิกเบาหวาน
Food consumption behavior
Type II diabetic patients
Diabetic clinic
spellingShingle พฤติกรรมการบริโภคอาหาร
ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2
คลินิกเบาหวาน
Food consumption behavior
Type II diabetic patients
Diabetic clinic
ศิริพร นิธิวัฒน์
สุปรียา ตันสกุล
มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์
นิรัตน์ อิมามี
Siriporn Nitiwat
Supreya Tansakul
Manirat Therawiwat
Nirat Imamee
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริโภคอาหารในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่2
description การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริโภคอาหารของผู้ป่วย เบาหวานชนิดที่2 ที่มารับบริการตรวจรักษาที่มิตรไมตรีคลินิกเวชกรรม โดยประยุกต์แนวคิด PRECEDE Model เป็นกรอบแนวคิดการวิจัย กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นเบาหวานชนิดที่2 อายุ 35ปีขึ้นไป จำนวนรวม 282 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ประกอบด้วยข้อมูลส่วนบุคคล ความรู้ด้านพฤติกรรมการบริโภคอาหาร การรับรู้ความสามารถตนเอง การรับรู้ภาวะสุขภาพ การเข้าถึงแหล่ง อาหาร ทักษะการบริโภค การสนับสนุนทางสังคม และพฤติกรรมการบริโภคอาหาร การเข้าถึงแหล่งอาหาร ทักษะการเลือกบริโภค วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนาได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และวิเคราะห์ความสัมพันธ์ด้วยสถิติไคว์สแควร์และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการศึกษา พบว่า ปัจจัยนำด้านคุณลักษณะประชากรได้แก่อาชีพมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการ บริโภคอาหารอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.001) ปัจจัยนำด้านจิตวิทยาพบว่าความรู้ การรับรู้ ความสามารถตนเองและการรับรู้ภาวะสุขภาพ มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริโภคอาหารอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติ (r=0.345; p<0.001, r=0.421; p<0.001 และ r=0.266; p<0.001 ตามลำดับ) ปัจจัย เอื้อ พบว่าการเข้าถึงแหล่งอาหารมีความสัมพันธ์ทางลบกับพฤติกรรมการบริโภคอาหารอย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติ (r=-0.182; p=0.002) ปัจจัยเสริมการสนับสนุนทางสังคมมีความสัมพันธ์ทางลบกับพฤติกรรมการ บริโภคอาหารอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r=-0.144; p=0.016) จากผลการวิจัยนี้สามารถนำไปวางแผนจัดโปรแกรมสุขศึกษาเพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่2 มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่เหมาะสม โดยส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีการรับรู้ความสามารถตนต่อการบริโภค อาหารมีความรู้ที่ถูกต้องด้านการบริโภคอาหาร มีการรับรู้ภาวะสุขภาพที่สอดคล้องกับโรคเบาหวาน รวมทั้ง ควรจัดโปรแกรมการอบรมให้ครอบครัวที่เป็นคนสำคัญเพื่อให้เกิดการสนับสนุนทางสังคมต่อการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
ศิริพร นิธิวัฒน์
สุปรียา ตันสกุล
มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์
นิรัตน์ อิมามี
Siriporn Nitiwat
Supreya Tansakul
Manirat Therawiwat
Nirat Imamee
format Article
author ศิริพร นิธิวัฒน์
สุปรียา ตันสกุล
มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์
นิรัตน์ อิมามี
Siriporn Nitiwat
Supreya Tansakul
Manirat Therawiwat
Nirat Imamee
author_sort ศิริพร นิธิวัฒน์
title ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริโภคอาหารในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่2
title_short ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริโภคอาหารในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่2
title_full ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริโภคอาหารในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่2
title_fullStr ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริโภคอาหารในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่2
title_full_unstemmed ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริโภคอาหารในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่2
title_sort ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริโภคอาหารในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่2
publishDate 2020
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/60639
_version_ 1763492641302904832
spelling th-mahidol.606392023-03-30T22:23:31Z ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริโภคอาหารในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่2 Factors Related to Food Consumption Behavior With Type II Diabetic Patients ศิริพร นิธิวัฒน์ สุปรียา ตันสกุล มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์ นิรัตน์ อิมามี Siriporn Nitiwat Supreya Tansakul Manirat Therawiwat Nirat Imamee มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎราชนครินทร์. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พฤติกรรมการบริโภคอาหาร ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 คลินิกเบาหวาน Food consumption behavior Type II diabetic patients Diabetic clinic การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริโภคอาหารของผู้ป่วย เบาหวานชนิดที่2 ที่มารับบริการตรวจรักษาที่มิตรไมตรีคลินิกเวชกรรม โดยประยุกต์แนวคิด PRECEDE Model เป็นกรอบแนวคิดการวิจัย กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นเบาหวานชนิดที่2 อายุ 35ปีขึ้นไป จำนวนรวม 282 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ประกอบด้วยข้อมูลส่วนบุคคล ความรู้ด้านพฤติกรรมการบริโภคอาหาร การรับรู้ความสามารถตนเอง การรับรู้ภาวะสุขภาพ การเข้าถึงแหล่ง อาหาร ทักษะการบริโภค การสนับสนุนทางสังคม และพฤติกรรมการบริโภคอาหาร การเข้าถึงแหล่งอาหาร ทักษะการเลือกบริโภค วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนาได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และวิเคราะห์ความสัมพันธ์ด้วยสถิติไคว์สแควร์และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการศึกษา พบว่า ปัจจัยนำด้านคุณลักษณะประชากรได้แก่อาชีพมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการ บริโภคอาหารอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.001) ปัจจัยนำด้านจิตวิทยาพบว่าความรู้ การรับรู้ ความสามารถตนเองและการรับรู้ภาวะสุขภาพ มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริโภคอาหารอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติ (r=0.345; p<0.001, r=0.421; p<0.001 และ r=0.266; p<0.001 ตามลำดับ) ปัจจัย เอื้อ พบว่าการเข้าถึงแหล่งอาหารมีความสัมพันธ์ทางลบกับพฤติกรรมการบริโภคอาหารอย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติ (r=-0.182; p=0.002) ปัจจัยเสริมการสนับสนุนทางสังคมมีความสัมพันธ์ทางลบกับพฤติกรรมการ บริโภคอาหารอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r=-0.144; p=0.016) จากผลการวิจัยนี้สามารถนำไปวางแผนจัดโปรแกรมสุขศึกษาเพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่2 มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่เหมาะสม โดยส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีการรับรู้ความสามารถตนต่อการบริโภค อาหารมีความรู้ที่ถูกต้องด้านการบริโภคอาหาร มีการรับรู้ภาวะสุขภาพที่สอดคล้องกับโรคเบาหวาน รวมทั้ง ควรจัดโปรแกรมการอบรมให้ครอบครัวที่เป็นคนสำคัญเพื่อให้เกิดการสนับสนุนทางสังคมต่อการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม This survey research aimed to investigate the factors related to food consumption behavior of the patients with type II diabetes who received medical services at Mitrmaitree Internal Medicine Clinic. The samples were composed of 282 persons who were diagnosed to be type II diabetics, aged 35 years and higher. PRECEDE Model was applied as the conceptual framework. The data were collected by using interviewing schedule composed of questions in regard to the following information : personal data; knowledge about food consumption behavior; self-efficacy; perceived health status; access to food sources; food consumption skills’ social support and food consumption behavior.The data were analyzed by using descriptive statistics in regard to arithmetic mean, median, percentage, and standard deviation. Analytical statistics were also employed in regard to Chi-square and Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient. The results showed that : the predisposing factor in regard to a demographic characteristic, occupation, related significantly with food consumption behavior (p<0.001) ; the psychological factors in regard to knowledge perceived self-efficacy, and perceived health status were found to relate significantly with food consumption behavior (r=0.345; p<0.001, r=0.421; p<0.001and r=0.266; p<0.001 respectively); regarding the enabling factor, access to food sources, was found to relate negatively with food consumption behavior (r=-0.182; p=0.002); and the reinforcing in regard to social support was also found to relate negatively with food consumption behavior (r=- 0.144 ; p=0.016) From these results, it is recommended that health education program emphasizing development of perceived self-efficacy, correct knowledge about food consumption behaviour, perceived health status about their diabetes mellitus. Besides, a training program should be organized for family members who can be the important organization’s resources to support desirable behavioral changes 2020-12-30T14:30:12Z 2020-12-30T14:30:12Z 2563-12-30 2558 Research Article วารสารสุขศึกษา. ปีที่ 38, ฉบับที่ 129 (ม.ค.- เม.ย. 2558), 14-30 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/60639 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf