ปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของวัยรุ่นหญิงในเขตกรุงเทพมหานคร

การสำรวจข้อมูลครั้งนี้เพื่ออธิบายพฤติกรรมและปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของวัยรุ่น หญิงในกรุงเทพมหานคร ตามกรอบแนวคิด PRECEDE ในการศึกษาอธิบายปัจจัยนำ ปัจจัยเอื้อและปัจจัยเสริม ทำการศึกษาในวัยรุ่นหญิงอายุ 15-25 ปีในเขตกรุงเทพมหานครใช้การสุ่มแบบชั้นภูมิหลายขั้น คำนวณ ได้ขนาดตัวอย่าง 1,047...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: มณฑา เก่งการพานิช, แสงเดือน สุวรรณรัศมี, ชวาลา ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม, ธราดล เก่งการพานิช, Mondha Kengganpanich, Saengduan Suwanrassami, Chawala Phavaputanondh, Tharadol Kengganpanich
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2020
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/60643
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.60643
record_format dspace
spelling th-mahidol.606432023-03-31T00:12:00Z ปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของวัยรุ่นหญิงในเขตกรุงเทพมหานคร Factors Associated with Smoking Behavior Among Female Adolescents in Bangkok Metropolitan มณฑา เก่งการพานิช แสงเดือน สุวรรณรัศมี ชวาลา ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม ธราดล เก่งการพานิช Mondha Kengganpanich Saengduan Suwanrassami Chawala Phavaputanondh Tharadol Kengganpanich มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์ ปัจจัยที่สัมพันธ์ พฤติกรรมการสูบบุหรี่ของวัยรุ่นหญิง กรุงเทพมหานคร Factors association Female adolescents smoking behavior Bangkok Metropolitan การสำรวจข้อมูลครั้งนี้เพื่ออธิบายพฤติกรรมและปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของวัยรุ่น หญิงในกรุงเทพมหานคร ตามกรอบแนวคิด PRECEDE ในการศึกษาอธิบายปัจจัยนำ ปัจจัยเอื้อและปัจจัยเสริม ทำการศึกษาในวัยรุ่นหญิงอายุ 15-25 ปีในเขตกรุงเทพมหานครใช้การสุ่มแบบชั้นภูมิหลายขั้น คำนวณ ได้ขนาดตัวอย่าง 1,047 คน เก็บรวบรวมโดยใช้แบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ความสัมพันธ์ด้วยสถิติไคสแควร์ ผลการศึกษา พบว่า วัยรุ่นหญิงสูบบุหรี่ในปัจจุบันร้อยละ 10.2 โดยจำแนกเป็นสูบเป็นประจำร้อยละ 3.2 และสูบเป็นครั้งคราวร้อยละ 7.0 จากการศึกษาความสัมพันธ์พบว่า ปัจจัยนำด้านคุณลักษณะทาง ประชากร พบปัจจัยสถานภาพสมรส การศึกษาสูงสุด อาชีพหลักและรายได้มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ (p<0.05) สาหรับปัจจัยนำที่เป็นปัจจัยภายในพบว่า ปัจจัยการรับรู้พิษภัยของบุหรี่ต่อผู้สูบ ต่อผู้อื่น/ ควันบุหรี่มือสอง ค่านิยมในการสูบบุหรี่ของวัยรุ่นหญิงอายุต่ำกว่า 20 ปี หรือสูงกว่า 20 ปี และความคิดเห็นต่อการรณรงค์ให้ผู้หญิงเลิกบุหรี่ ล้วนมีความสัมพันธ์ทั้งสิ้น ด้านปัจจัยเอื้อพบว่าพฤติกรรมการดื่มแอลกอฮอล์ และการเที่ยวสถานบันเทิงในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมามีความสัมพันธ์กับการสูบบุหรี่ของวัยรุ่นหญิง ด้านปัจจัยเสริม พบว่า วัยรุ่นหญิงที่มีเพื่อนสนิทสูบบุหรี่ และมีคนใกล้ชิดในครอบครัวสูบบุหรี่ มีความสัมพันธ์กับการสูบ บหรี่ของวัยรุ่นหญิงอย่างชัดเจนและมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.001) สถาบันการศึกษาและสถาบันสื่อควรช่วยกันในการปรับเปลี่ยนค่านิยมผิดๆ ในการสูบบุหรี่ของผู้หญิง และควรมีการควบคุมการสูบบุหรี่ในสถานบันเทิงอย่างเคร่งครัด The survey was to describe smoking behavior and the factors associated with smoking behavior among female adolescents in Bangkok Metropolitan. According to the concept PRECEDE model, contributing factors composed of predisposing, enabling and reinforcing factors. and factors. This study was in female adolescents aged 15-25 years old in Bangkok and using multistage stratified random sampling. Sample size of 1,047 were collected data by interview. Chisquare test was used to analyze association between independent and dependent variable. The study found that young women were current smokers for 10.2 percent and classified as daily smokers and occasional smokers by 3.2 percent and 7.0 percent. The study of an association showed that, the demographic factors composed of marital status, education, main occupation and income were associated with a statistically significant (p <0.05). For predisposing factors, perceived harm of cigarette smokers and exposure to second-hand smoke, smoking value among young women under the age of 20 years or above 20 years, and opinions on the campaign for women to stop smoking were all associated with female smoking. The enabling factors were drinking alcohol and visiting entertainment venues during the past three months were associated with smoking among them. For reinforcing factors, this study found that female adolescents who had close friends smoke, and family members’ smoking were associated with smoking among female adolescents respectively significant (p <0.001). Thus, academic institutions and the media should help in changing the wrong values about women smoking and should be controlled strictly smoking in entertainment venues. 2020-12-30T15:46:50Z 2020-12-30T15:46:50Z 2563-12-30 2557 Research Article วารสารสุขศึกษา. ปีที่ 37, ฉบับที่ 128 (ก.ค.- ธ.ค. 2557), 29-44 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/60643 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic ปัจจัยที่สัมพันธ์
พฤติกรรมการสูบบุหรี่ของวัยรุ่นหญิง
กรุงเทพมหานคร
Factors association
Female adolescents smoking behavior
Bangkok Metropolitan
spellingShingle ปัจจัยที่สัมพันธ์
พฤติกรรมการสูบบุหรี่ของวัยรุ่นหญิง
กรุงเทพมหานคร
Factors association
Female adolescents smoking behavior
Bangkok Metropolitan
มณฑา เก่งการพานิช
แสงเดือน สุวรรณรัศมี
ชวาลา ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม
ธราดล เก่งการพานิช
Mondha Kengganpanich
Saengduan Suwanrassami
Chawala Phavaputanondh
Tharadol Kengganpanich
ปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของวัยรุ่นหญิงในเขตกรุงเทพมหานคร
description การสำรวจข้อมูลครั้งนี้เพื่ออธิบายพฤติกรรมและปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของวัยรุ่น หญิงในกรุงเทพมหานคร ตามกรอบแนวคิด PRECEDE ในการศึกษาอธิบายปัจจัยนำ ปัจจัยเอื้อและปัจจัยเสริม ทำการศึกษาในวัยรุ่นหญิงอายุ 15-25 ปีในเขตกรุงเทพมหานครใช้การสุ่มแบบชั้นภูมิหลายขั้น คำนวณ ได้ขนาดตัวอย่าง 1,047 คน เก็บรวบรวมโดยใช้แบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ความสัมพันธ์ด้วยสถิติไคสแควร์ ผลการศึกษา พบว่า วัยรุ่นหญิงสูบบุหรี่ในปัจจุบันร้อยละ 10.2 โดยจำแนกเป็นสูบเป็นประจำร้อยละ 3.2 และสูบเป็นครั้งคราวร้อยละ 7.0 จากการศึกษาความสัมพันธ์พบว่า ปัจจัยนำด้านคุณลักษณะทาง ประชากร พบปัจจัยสถานภาพสมรส การศึกษาสูงสุด อาชีพหลักและรายได้มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ (p<0.05) สาหรับปัจจัยนำที่เป็นปัจจัยภายในพบว่า ปัจจัยการรับรู้พิษภัยของบุหรี่ต่อผู้สูบ ต่อผู้อื่น/ ควันบุหรี่มือสอง ค่านิยมในการสูบบุหรี่ของวัยรุ่นหญิงอายุต่ำกว่า 20 ปี หรือสูงกว่า 20 ปี และความคิดเห็นต่อการรณรงค์ให้ผู้หญิงเลิกบุหรี่ ล้วนมีความสัมพันธ์ทั้งสิ้น ด้านปัจจัยเอื้อพบว่าพฤติกรรมการดื่มแอลกอฮอล์ และการเที่ยวสถานบันเทิงในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมามีความสัมพันธ์กับการสูบบุหรี่ของวัยรุ่นหญิง ด้านปัจจัยเสริม พบว่า วัยรุ่นหญิงที่มีเพื่อนสนิทสูบบุหรี่ และมีคนใกล้ชิดในครอบครัวสูบบุหรี่ มีความสัมพันธ์กับการสูบ บหรี่ของวัยรุ่นหญิงอย่างชัดเจนและมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.001) สถาบันการศึกษาและสถาบันสื่อควรช่วยกันในการปรับเปลี่ยนค่านิยมผิดๆ ในการสูบบุหรี่ของผู้หญิง และควรมีการควบคุมการสูบบุหรี่ในสถานบันเทิงอย่างเคร่งครัด
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
มณฑา เก่งการพานิช
แสงเดือน สุวรรณรัศมี
ชวาลา ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม
ธราดล เก่งการพานิช
Mondha Kengganpanich
Saengduan Suwanrassami
Chawala Phavaputanondh
Tharadol Kengganpanich
format Article
author มณฑา เก่งการพานิช
แสงเดือน สุวรรณรัศมี
ชวาลา ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม
ธราดล เก่งการพานิช
Mondha Kengganpanich
Saengduan Suwanrassami
Chawala Phavaputanondh
Tharadol Kengganpanich
author_sort มณฑา เก่งการพานิช
title ปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของวัยรุ่นหญิงในเขตกรุงเทพมหานคร
title_short ปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของวัยรุ่นหญิงในเขตกรุงเทพมหานคร
title_full ปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของวัยรุ่นหญิงในเขตกรุงเทพมหานคร
title_fullStr ปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของวัยรุ่นหญิงในเขตกรุงเทพมหานคร
title_full_unstemmed ปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของวัยรุ่นหญิงในเขตกรุงเทพมหานคร
title_sort ปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของวัยรุ่นหญิงในเขตกรุงเทพมหานคร
publishDate 2020
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/60643
_version_ 1763497344458817536