การประยุกต์แบบจําลองการส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์ ในการส่งเสริมสุขภาพตาของผู้สูงอายุ

การวิจัยกึ่งการทดลองเพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมสุขศึกษาที่ประยุกต์แบบจำลองการ ส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์ในการส่งเสริมสุขภาพตาของผู้สูงอายุ กลุ่มทดลองเป็นผู้สูงอายุในชมรม ผู้สูงอายุตำบลห้วยพลู จำนวน 40 คน และกลุ่มเปรียบเทียบเป็นผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุดอนแฝก จำนวน 40 คน ผู้สูงอายุกลุ่มทดลองจะเ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: บุญนภา บุญเรือน, ธราดล เก่งการพานิช, มณฑา เก่งการพานิช, ประสิทธิ์ ลีระพันธ์, Boonnapa Boonruan, Tharadol Kengganpanich, Mondha Kengganpanich, Prasit Leerapan
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2021
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/60679
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.60679
record_format dspace
spelling th-mahidol.606792023-03-30T11:41:38Z การประยุกต์แบบจําลองการส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์ ในการส่งเสริมสุขภาพตาของผู้สูงอายุ The Application of Pender’s Health Promotion Model for Promoting Eye Health of the Elderly บุญนภา บุญเรือน ธราดล เก่งการพานิช มณฑา เก่งการพานิช ประสิทธิ์ ลีระพันธ์ Boonnapa Boonruan Tharadol Kengganpanich Mondha Kengganpanich Prasit Leerapan มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์ การส่งเสริมสุขภาพตา ผู้สูงอายุ แบบจำลองการส่งเสริมสุขภาพ Eye health promotion Elderly Health promotion model การวิจัยกึ่งการทดลองเพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมสุขศึกษาที่ประยุกต์แบบจำลองการ ส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์ในการส่งเสริมสุขภาพตาของผู้สูงอายุ กลุ่มทดลองเป็นผู้สูงอายุในชมรม ผู้สูงอายุตำบลห้วยพลู จำนวน 40 คน และกลุ่มเปรียบเทียบเป็นผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุดอนแฝก จำนวน 40 คน ผู้สูงอายุกลุ่มทดลองจะเข้าร่วมกิจกรรมตามโปรแกรมสุขศึกษาที่จัดประสบการณ์การ เรียนรู้ด้วยการสาธิต การฝึกปฏิบัติและการกระตุ้นเตือน เป็นระยะเวลา 8 สัปดาห์ รวบรวมข้อมูลด้วยแบบ สัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน Paired Sample’s t-test และ Independent t-test ผลการวิจัย พบว่า ภายหลังการทดลองกลุ่มทดลองที่เข้าร่วมโปรแกรมมีการรับรู้ประโยชน์ของการ ปฏิบัติพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพตา การรับรู้ความสามารถตนเองในการปฏิบัติ และการปฏิบัติพฤติกรรม ส่งเสริมสุขภาพตาเพิ่มขึ้นกว่าก่อนการทดลอง และมากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.001) ส่วนค่าเฉลี่ยการรับรู้อุปสรรคลดลงกว่าก่อนการทดลองและต่ำกว่าผู้สูงอายุกลุ่มเปรียบเทียบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.001) แสดงให้เห็นว่าโปรแกรมสุขศึกษาที่จัดขึ้นมีประสิทธิผลสามารถ เปลี่ยนแปลงการปฏิบัติพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพตาของผู้สูงอายุได้ดีขึ้น ดังนั้นบุคลากรสาธารณสุขที่ เกี่ยวข้องสามารถนำโปรแกรมนี้ไปประยุกต์ใช้กับผู้สูงอายุที่มีการรวมกลุ่มเป็นชมรมได้ ตามบริบทของ พื้นที่ นอกจากนี้การวิจัยครั้งต่อไปควรศึกษาโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพตาในกลุ่มผู้สูงอายุที่เป็น โรคเบาหวานขึ้นตา ทั้งนี้เพราะมีเงื่อนไขของการปฏิบัติพฤติกรรมที่แตกต่างจากผู้สูงอายุทั่วไป This quasi-experimental research design investigated the effectiveness of a health education program applying Pender’s Health Promotion Model for promoting eye health for the elderly. The samples for the experimental group of 40 elderly people was selected from an elderly club in Huayplo Subdistrict and the comparison group of 40 elderly from an elderly club in Donfag Subdistrict. The experimental group participated in a health education program where learning experience was implemented through demonstration, practice, and encouragement for 8 weeks. Data were analyzed by computing frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation, paired sample t-test, and independent t-test. The results showed that the perceived benefits of performing eye health protecting behaviors, perceived self-efficacy to perform eye health promotion behaviors, and eye health promotion behaviors of the experimental group who participated in the health promotion program was found to be significantly higher than before the experimentation and than that of the comparison group (p<0.001). For the perceived barriers, the mean score of the experimental group was significantly lower than before the experimentation and that of the comparison group (p<0.001). It was evidenced that the health education program implemented was effective in changing the elderly’s eye health promoting behaviors. Thus, the public health personnel whose work relates to the elderly should apply this type of program to the elderly clubs’ members in accordance with the contexts of their responsible areas. Further research is need to apply this type of health promotion program should be studied with the diabetic elderly who have eye disorders but this group of patients needs to receive specific training that is designed for their specific health condition 2021-01-07T16:15:46Z 2021-01-07T16:15:46Z 2564-01-07 2556 Research Article วารสารสุขศึกษา. ปีที่ 36, ฉบับที่ 125 (ก.ค.- ธ.ค. 2556), 57-71 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/60679 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic การส่งเสริมสุขภาพตา
ผู้สูงอายุ
แบบจำลองการส่งเสริมสุขภาพ
Eye health promotion
Elderly
Health promotion model
spellingShingle การส่งเสริมสุขภาพตา
ผู้สูงอายุ
แบบจำลองการส่งเสริมสุขภาพ
Eye health promotion
Elderly
Health promotion model
บุญนภา บุญเรือน
ธราดล เก่งการพานิช
มณฑา เก่งการพานิช
ประสิทธิ์ ลีระพันธ์
Boonnapa Boonruan
Tharadol Kengganpanich
Mondha Kengganpanich
Prasit Leerapan
การประยุกต์แบบจําลองการส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์ ในการส่งเสริมสุขภาพตาของผู้สูงอายุ
description การวิจัยกึ่งการทดลองเพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมสุขศึกษาที่ประยุกต์แบบจำลองการ ส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์ในการส่งเสริมสุขภาพตาของผู้สูงอายุ กลุ่มทดลองเป็นผู้สูงอายุในชมรม ผู้สูงอายุตำบลห้วยพลู จำนวน 40 คน และกลุ่มเปรียบเทียบเป็นผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุดอนแฝก จำนวน 40 คน ผู้สูงอายุกลุ่มทดลองจะเข้าร่วมกิจกรรมตามโปรแกรมสุขศึกษาที่จัดประสบการณ์การ เรียนรู้ด้วยการสาธิต การฝึกปฏิบัติและการกระตุ้นเตือน เป็นระยะเวลา 8 สัปดาห์ รวบรวมข้อมูลด้วยแบบ สัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน Paired Sample’s t-test และ Independent t-test ผลการวิจัย พบว่า ภายหลังการทดลองกลุ่มทดลองที่เข้าร่วมโปรแกรมมีการรับรู้ประโยชน์ของการ ปฏิบัติพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพตา การรับรู้ความสามารถตนเองในการปฏิบัติ และการปฏิบัติพฤติกรรม ส่งเสริมสุขภาพตาเพิ่มขึ้นกว่าก่อนการทดลอง และมากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.001) ส่วนค่าเฉลี่ยการรับรู้อุปสรรคลดลงกว่าก่อนการทดลองและต่ำกว่าผู้สูงอายุกลุ่มเปรียบเทียบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.001) แสดงให้เห็นว่าโปรแกรมสุขศึกษาที่จัดขึ้นมีประสิทธิผลสามารถ เปลี่ยนแปลงการปฏิบัติพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพตาของผู้สูงอายุได้ดีขึ้น ดังนั้นบุคลากรสาธารณสุขที่ เกี่ยวข้องสามารถนำโปรแกรมนี้ไปประยุกต์ใช้กับผู้สูงอายุที่มีการรวมกลุ่มเป็นชมรมได้ ตามบริบทของ พื้นที่ นอกจากนี้การวิจัยครั้งต่อไปควรศึกษาโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพตาในกลุ่มผู้สูงอายุที่เป็น โรคเบาหวานขึ้นตา ทั้งนี้เพราะมีเงื่อนไขของการปฏิบัติพฤติกรรมที่แตกต่างจากผู้สูงอายุทั่วไป
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
บุญนภา บุญเรือน
ธราดล เก่งการพานิช
มณฑา เก่งการพานิช
ประสิทธิ์ ลีระพันธ์
Boonnapa Boonruan
Tharadol Kengganpanich
Mondha Kengganpanich
Prasit Leerapan
format Article
author บุญนภา บุญเรือน
ธราดล เก่งการพานิช
มณฑา เก่งการพานิช
ประสิทธิ์ ลีระพันธ์
Boonnapa Boonruan
Tharadol Kengganpanich
Mondha Kengganpanich
Prasit Leerapan
author_sort บุญนภา บุญเรือน
title การประยุกต์แบบจําลองการส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์ ในการส่งเสริมสุขภาพตาของผู้สูงอายุ
title_short การประยุกต์แบบจําลองการส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์ ในการส่งเสริมสุขภาพตาของผู้สูงอายุ
title_full การประยุกต์แบบจําลองการส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์ ในการส่งเสริมสุขภาพตาของผู้สูงอายุ
title_fullStr การประยุกต์แบบจําลองการส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์ ในการส่งเสริมสุขภาพตาของผู้สูงอายุ
title_full_unstemmed การประยุกต์แบบจําลองการส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์ ในการส่งเสริมสุขภาพตาของผู้สูงอายุ
title_sort การประยุกต์แบบจําลองการส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์ ในการส่งเสริมสุขภาพตาของผู้สูงอายุ
publishDate 2021
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/60679
_version_ 1763494385447600128