พฤติกรรมป้องกันมะเร็งปากมดลูกระดับปฐมภูมิในพนักงานบริการ ในบาร์เบียร์ เขตเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี

การศึกษาเชิงสำรวจแบบตัดขวางนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมป้องกันมะเร็งปากมดลูกระดับปฐมภูมิ และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมของพนักงานบริการในบาร์เบียร์ เลือกพนักงานบริการจำนวน 340 คนจาก สถานบริการบาร์เบียร์ 162 แห่งในเขตเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ธันวา หอมจันทร์, ภรณี วัฒนสมบูรณ์, ลักขณา เติมศิริกุลชัย, ปัญญรัตน์ ลาภวงศ์วัฒนา, Tunwa Homchun, Paranee Vatanasomboon, Lakkhana Temsirikulchai, Punyarat Lapvongwatana
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2021
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/61318
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.61318
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic พฤติกรรมการป้องกันระดับปฐมภูมิ
มะเร็งปากมดลูก
พนักงานบริการ
บาร์เบียร์
Primary preventive behaviors
Cervical cancer
Beer bar
Waitresses
spellingShingle พฤติกรรมการป้องกันระดับปฐมภูมิ
มะเร็งปากมดลูก
พนักงานบริการ
บาร์เบียร์
Primary preventive behaviors
Cervical cancer
Beer bar
Waitresses
ธันวา หอมจันทร์
ภรณี วัฒนสมบูรณ์
ลักขณา เติมศิริกุลชัย
ปัญญรัตน์ ลาภวงศ์วัฒนา
Tunwa Homchun
Paranee Vatanasomboon
Lakkhana Temsirikulchai
Punyarat Lapvongwatana
พฤติกรรมป้องกันมะเร็งปากมดลูกระดับปฐมภูมิในพนักงานบริการ ในบาร์เบียร์ เขตเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี
description การศึกษาเชิงสำรวจแบบตัดขวางนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมป้องกันมะเร็งปากมดลูกระดับปฐมภูมิ และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมของพนักงานบริการในบาร์เบียร์ เลือกพนักงานบริการจำนวน 340 คนจาก สถานบริการบาร์เบียร์ 162 แห่งในเขตเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยต่างๆ กับพฤติกรรมการป้องกันมะเร็งปากมดลูกระดับปฐมภูมิ ด้วยสถิติทดสอบ ไค- สแควร์ และสถิติ Pearson’s Product Moment Correlation ผลการศึกษาพบว่าคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมป้องกันมะเร็งปากมดลูกระดับปฐมภูมิในกลุ่มพนักงานบาร์เบียร์ ค่อนข้างต่ำ เกือบทั้งหมด (ร้อยละ 90.9) มีพฤติกรรมในระดับไม่เหมาะสมทั้งในด้านการใช้ถุงยางอนามัย (ร้อยละ 41.8) ด้านการป้องกันการติดเชื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (ร้อยละ 85.8) ด้านการบริการลูกค้า (ร้อยละ 63.2) ด้าน การรักษาความสะอาดบริเวณอวัยวะเพศ (ร้อยละ 83.8) และด้านการสังเกตอาการผิดปกติ (ร้อยละ 92.4) ปัจจัยอัน ได้แก่ อายุ รายได้ ประวัติการป่วยเป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การป่วยเป็นมะเร็งปากมดลูกของคนในครอบครัว การได้รับควันบุหรี่ ความรู้เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูกการรับรู้ความรุนแรงของโรคมะเร็งปากมดลูก การรับรู้ประโยชน์ ของการปฏิบัติตนในการป้องกันโรค และแรงสนับสนุนจากเจ้าของสถานบริการ เพื่อน/เพื่อนร่วมงาน ครอบครัวหรือ สามีบุคลากรทางการแพทย์/เจ้าหน้าที่สาธารณสุข พฤติกรรมป้องกันมะเร็งปากมดลูกระดับปฐมภูมิมีความสัมพันธ์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) จากผลการศึกษาควรมีการส่งเสริมพฤติกรรมการป้องกันมะเร็งปากมดลูกระดับ ปฐมภูมิในกลุ่มพนักงานบริการบาร์เบียร์โดยการให้การศึกษาแก่กลุ่มเป้าหมายที่เน้นการเพิ่มความรู้และการรับรู้ ความรุนแรงของโรคมะเร็งปากมดลูก และประโยชน์ของการปฏิบัติ รวมทั้งการใช้แรงสนับสนับสนุนทางสังคม โดยเฉพาะจากเจ้าของสถานบริการเพื่อกระตุ้นให้พนักงานบริการมีพฤติกรรมการป้องกันมะเร็งปากมดลูกที่ถูกต้อง เหมาะสม
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
ธันวา หอมจันทร์
ภรณี วัฒนสมบูรณ์
ลักขณา เติมศิริกุลชัย
ปัญญรัตน์ ลาภวงศ์วัฒนา
Tunwa Homchun
Paranee Vatanasomboon
Lakkhana Temsirikulchai
Punyarat Lapvongwatana
format Article
author ธันวา หอมจันทร์
ภรณี วัฒนสมบูรณ์
ลักขณา เติมศิริกุลชัย
ปัญญรัตน์ ลาภวงศ์วัฒนา
Tunwa Homchun
Paranee Vatanasomboon
Lakkhana Temsirikulchai
Punyarat Lapvongwatana
author_sort ธันวา หอมจันทร์
title พฤติกรรมป้องกันมะเร็งปากมดลูกระดับปฐมภูมิในพนักงานบริการ ในบาร์เบียร์ เขตเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี
title_short พฤติกรรมป้องกันมะเร็งปากมดลูกระดับปฐมภูมิในพนักงานบริการ ในบาร์เบียร์ เขตเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี
title_full พฤติกรรมป้องกันมะเร็งปากมดลูกระดับปฐมภูมิในพนักงานบริการ ในบาร์เบียร์ เขตเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี
title_fullStr พฤติกรรมป้องกันมะเร็งปากมดลูกระดับปฐมภูมิในพนักงานบริการ ในบาร์เบียร์ เขตเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี
title_full_unstemmed พฤติกรรมป้องกันมะเร็งปากมดลูกระดับปฐมภูมิในพนักงานบริการ ในบาร์เบียร์ เขตเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี
title_sort พฤติกรรมป้องกันมะเร็งปากมดลูกระดับปฐมภูมิในพนักงานบริการ ในบาร์เบียร์ เขตเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี
publishDate 2021
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/61318
_version_ 1763492136148271104
spelling th-mahidol.613182023-03-31T02:08:22Z พฤติกรรมป้องกันมะเร็งปากมดลูกระดับปฐมภูมิในพนักงานบริการ ในบาร์เบียร์ เขตเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี Primary Cervical Cancer Preventive Behaviors Among Beer Bar Waitresses at Pattaya City, Chonburi Province ธันวา หอมจันทร์ ภรณี วัฒนสมบูรณ์ ลักขณา เติมศิริกุลชัย ปัญญรัตน์ ลาภวงศ์วัฒนา Tunwa Homchun Paranee Vatanasomboon Lakkhana Temsirikulchai Punyarat Lapvongwatana มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลสาธารณสุข จังหวัดชลบุรี. อำเภอเมือง. เทศบาลเมืองแสนสุข พฤติกรรมการป้องกันระดับปฐมภูมิ มะเร็งปากมดลูก พนักงานบริการ บาร์เบียร์ Primary preventive behaviors Cervical cancer Beer bar Waitresses การศึกษาเชิงสำรวจแบบตัดขวางนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมป้องกันมะเร็งปากมดลูกระดับปฐมภูมิ และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมของพนักงานบริการในบาร์เบียร์ เลือกพนักงานบริการจำนวน 340 คนจาก สถานบริการบาร์เบียร์ 162 แห่งในเขตเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยต่างๆ กับพฤติกรรมการป้องกันมะเร็งปากมดลูกระดับปฐมภูมิ ด้วยสถิติทดสอบ ไค- สแควร์ และสถิติ Pearson’s Product Moment Correlation ผลการศึกษาพบว่าคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมป้องกันมะเร็งปากมดลูกระดับปฐมภูมิในกลุ่มพนักงานบาร์เบียร์ ค่อนข้างต่ำ เกือบทั้งหมด (ร้อยละ 90.9) มีพฤติกรรมในระดับไม่เหมาะสมทั้งในด้านการใช้ถุงยางอนามัย (ร้อยละ 41.8) ด้านการป้องกันการติดเชื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (ร้อยละ 85.8) ด้านการบริการลูกค้า (ร้อยละ 63.2) ด้าน การรักษาความสะอาดบริเวณอวัยวะเพศ (ร้อยละ 83.8) และด้านการสังเกตอาการผิดปกติ (ร้อยละ 92.4) ปัจจัยอัน ได้แก่ อายุ รายได้ ประวัติการป่วยเป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การป่วยเป็นมะเร็งปากมดลูกของคนในครอบครัว การได้รับควันบุหรี่ ความรู้เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูกการรับรู้ความรุนแรงของโรคมะเร็งปากมดลูก การรับรู้ประโยชน์ ของการปฏิบัติตนในการป้องกันโรค และแรงสนับสนุนจากเจ้าของสถานบริการ เพื่อน/เพื่อนร่วมงาน ครอบครัวหรือ สามีบุคลากรทางการแพทย์/เจ้าหน้าที่สาธารณสุข พฤติกรรมป้องกันมะเร็งปากมดลูกระดับปฐมภูมิมีความสัมพันธ์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) จากผลการศึกษาควรมีการส่งเสริมพฤติกรรมการป้องกันมะเร็งปากมดลูกระดับ ปฐมภูมิในกลุ่มพนักงานบริการบาร์เบียร์โดยการให้การศึกษาแก่กลุ่มเป้าหมายที่เน้นการเพิ่มความรู้และการรับรู้ ความรุนแรงของโรคมะเร็งปากมดลูก และประโยชน์ของการปฏิบัติ รวมทั้งการใช้แรงสนับสนับสนุนทางสังคม โดยเฉพาะจากเจ้าของสถานบริการเพื่อกระตุ้นให้พนักงานบริการมีพฤติกรรมการป้องกันมะเร็งปากมดลูกที่ถูกต้อง เหมาะสม This cross-sectional survey research aimed to examine primary cervical cancer preventive behaviors and its related factors among beer bar waitresses. The 340 beer bar waitresses were selected from the 162 randomly selected beer bars in Pattaya City, Chonburi Province. The data were collected using questionnaires and were analyzed to test relationship between the study factors and primary cervical cancer preventive behaviors by using chi-square test and Pearson’s product-moment correlation. The results showed low mean score of primary cervical cancer preventive behaviors. Overall, 90.9 % of beer bar waitresses improperly performed primary cervical cancer prevention, which revealed for each dimension as follows: condom use (41.8%); prevention of sexually-transmitted diseases (85.8%); customer service (63.2%); personal hygiene of sexual organs (83.8%); and observation of abnormal symptoms (92.4%). The factors including age, income, history of getting sexually-transmitted diseases, having family members with cervical cancer, exposing tobacco smoke, knowledge of cervical cancer, perceived severity of cervical cancer, perceived benefits of cervical cancer preventive practices, social support from the bar owners, social support from friends/co-workers, social support from family/husband, and social support from medical/public health personnel were significantly related to the primary cervical cancer preventive behaviors (p<0.05). As the results, promoting the primary cervical cancer preventive behaviors among beer bar waitresses should be implemented through educating which focuses on enhancing the knowledge, and perceptions of severity of cervical cancer and benefit of primary preventive practice as well as using social support intervention, especially that from the bar owner in order to encourage bar waitresses to perform proper cervical cancer preventive behaviors. 2021-03-18T17:59:48Z 2021-03-18T17:59:48Z 2564-03-19 2556 Research Article วารสารสุขศึกษา. ปีที่ 36, ฉบับที่ 124 (พ.ค.- ส.ค. 2556), 1-16 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/61318 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf