ผลของโปรแกรมส่งเสริมการออกกําลังกายเพื่อควบคุมน้ําหนัก ในนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกิน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

การวิจัยกึ่งทดลองเพื่อศึกษาผลของการประยุกต์ทฤษฎีการรับรู้ความสามารถตนเองร่วมกับกระบวนการ กลุ่มและแรงสนับสนุนทางสังคม ในการจัดโปรแกรมส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อควบคุมน้ำหนัก ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการศึกษาเอกชน เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร กลุ่ม ตัวอย่าง คือ นั...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ปราณิศา กิ่งกังวาลย์, ประสิทธ์ ลีระพันธ์, ธราดล เก่งการพานิช, ลักขณา เติมศิริกุลชัย, Pranisa Kingkangwan, Prasit Leerapan, Tharadol Kengganpanich, Lakkhana Termsirikulchai
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2021
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/61322
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.61322
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic โปรแกรมส่งเสริมการออกกำลังกาย
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
การรับรู้ความสามารถตนเอง
spellingShingle โปรแกรมส่งเสริมการออกกำลังกาย
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
การรับรู้ความสามารถตนเอง
ปราณิศา กิ่งกังวาลย์
ประสิทธ์ ลีระพันธ์
ธราดล เก่งการพานิช
ลักขณา เติมศิริกุลชัย
Pranisa Kingkangwan
Prasit Leerapan
Tharadol Kengganpanich
Lakkhana Termsirikulchai
ผลของโปรแกรมส่งเสริมการออกกําลังกายเพื่อควบคุมน้ําหนัก ในนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกิน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
description การวิจัยกึ่งทดลองเพื่อศึกษาผลของการประยุกต์ทฤษฎีการรับรู้ความสามารถตนเองร่วมกับกระบวนการ กลุ่มและแรงสนับสนุนทางสังคม ในการจัดโปรแกรมส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อควบคุมน้ำหนัก ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการศึกษาเอกชน เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร กลุ่ม ตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่มีภาวะโภชนาการเกิน จำนวน 40 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่ม เปรียบเทียบ กลุ่มละ 20 คน กลุ่มทดลองเข้าร่วม โปรแกรมส่งเสริมการออกกำลังกาย เป็นเวลา 8 สัปดาห์ๆ ละ 1 วัน วันละ 50 นาที รวม 8 ครั้ง ส่วนกลุ่มเปรียบเทียบได้รับการเรียนการสอนตามระบบปกติของโรงเรียน เก็บรวบรวม ข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามก่อนและหลังการทดลอง วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน, Paired Sample t-test และ Independent t-test ผลการศึกษาพบว่า ภายหลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีการรับรู้ความสามารถตนเอง ความคาดหวังใน ผลดีของการออกกำลังกาย และพฤติกรรมการออกกำลังกายเพิ่มขึ้นมากกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ (p<0.001) และเมื่อเปรียบเทียบระหว่างกลุ่ม พบว่า กลุ่มทดลองมีการรับรู้ความสามารถตนเอง และ ความคาดหวังในผลดีของการออกกำลังกายมากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.001) แต่ ด้านความรู้และพฤติกรรมการออกกำลังกาย ไม่แตกต่างกันทางสถิติ สรุปได้ว่าโปรแกรมส่งเสริมการออกกำลัง กายเพื่อควบคุมน้ำหนัก ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงด้านการรับรู้ความสามารถตนเอง ความคาดหวังในผลดีของ การออกกำลังกายเพื่อควบคุมน้ำหนัก และพฤติกรรมการออกกำลังกาย ข้อเสนอแนะต่อผู้บริหารโรงเรียน คือการ ดำเนินโปรแกรมส่งเสริมการออกกำลังกายให้เกิดความต่อเนื่อง และขยายผลไปในนักเรียนระดับชั้นอื่นๆต่อไป โดยประยุกต์ให้เหมาะสมกับวัยของนักเรียนแต่ละระดับ
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
ปราณิศา กิ่งกังวาลย์
ประสิทธ์ ลีระพันธ์
ธราดล เก่งการพานิช
ลักขณา เติมศิริกุลชัย
Pranisa Kingkangwan
Prasit Leerapan
Tharadol Kengganpanich
Lakkhana Termsirikulchai
format Article
author ปราณิศา กิ่งกังวาลย์
ประสิทธ์ ลีระพันธ์
ธราดล เก่งการพานิช
ลักขณา เติมศิริกุลชัย
Pranisa Kingkangwan
Prasit Leerapan
Tharadol Kengganpanich
Lakkhana Termsirikulchai
author_sort ปราณิศา กิ่งกังวาลย์
title ผลของโปรแกรมส่งเสริมการออกกําลังกายเพื่อควบคุมน้ําหนัก ในนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกิน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
title_short ผลของโปรแกรมส่งเสริมการออกกําลังกายเพื่อควบคุมน้ําหนัก ในนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกิน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
title_full ผลของโปรแกรมส่งเสริมการออกกําลังกายเพื่อควบคุมน้ําหนัก ในนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกิน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
title_fullStr ผลของโปรแกรมส่งเสริมการออกกําลังกายเพื่อควบคุมน้ําหนัก ในนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกิน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
title_full_unstemmed ผลของโปรแกรมส่งเสริมการออกกําลังกายเพื่อควบคุมน้ําหนัก ในนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกิน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
title_sort ผลของโปรแกรมส่งเสริมการออกกําลังกายเพื่อควบคุมน้ําหนัก ในนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกิน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
publishDate 2021
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/61322
_version_ 1763491725768130560
spelling th-mahidol.613222023-03-30T15:14:59Z ผลของโปรแกรมส่งเสริมการออกกําลังกายเพื่อควบคุมน้ําหนัก ในนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกิน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 Effect of Exercise Program for Weight Control in the Fifth Grade Students with Overweight ปราณิศา กิ่งกังวาลย์ ประสิทธ์ ลีระพันธ์ ธราดล เก่งการพานิช ลักขณา เติมศิริกุลชัย Pranisa Kingkangwan Prasit Leerapan Tharadol Kengganpanich Lakkhana Termsirikulchai มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์ กรุงเทพมหานคร. โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย โปรแกรมส่งเสริมการออกกำลังกาย นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 การรับรู้ความสามารถตนเอง การวิจัยกึ่งทดลองเพื่อศึกษาผลของการประยุกต์ทฤษฎีการรับรู้ความสามารถตนเองร่วมกับกระบวนการ กลุ่มและแรงสนับสนุนทางสังคม ในการจัดโปรแกรมส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อควบคุมน้ำหนัก ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการศึกษาเอกชน เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร กลุ่ม ตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่มีภาวะโภชนาการเกิน จำนวน 40 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่ม เปรียบเทียบ กลุ่มละ 20 คน กลุ่มทดลองเข้าร่วม โปรแกรมส่งเสริมการออกกำลังกาย เป็นเวลา 8 สัปดาห์ๆ ละ 1 วัน วันละ 50 นาที รวม 8 ครั้ง ส่วนกลุ่มเปรียบเทียบได้รับการเรียนการสอนตามระบบปกติของโรงเรียน เก็บรวบรวม ข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามก่อนและหลังการทดลอง วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน, Paired Sample t-test และ Independent t-test ผลการศึกษาพบว่า ภายหลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีการรับรู้ความสามารถตนเอง ความคาดหวังใน ผลดีของการออกกำลังกาย และพฤติกรรมการออกกำลังกายเพิ่มขึ้นมากกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ (p<0.001) และเมื่อเปรียบเทียบระหว่างกลุ่ม พบว่า กลุ่มทดลองมีการรับรู้ความสามารถตนเอง และ ความคาดหวังในผลดีของการออกกำลังกายมากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.001) แต่ ด้านความรู้และพฤติกรรมการออกกำลังกาย ไม่แตกต่างกันทางสถิติ สรุปได้ว่าโปรแกรมส่งเสริมการออกกำลัง กายเพื่อควบคุมน้ำหนัก ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงด้านการรับรู้ความสามารถตนเอง ความคาดหวังในผลดีของ การออกกำลังกายเพื่อควบคุมน้ำหนัก และพฤติกรรมการออกกำลังกาย ข้อเสนอแนะต่อผู้บริหารโรงเรียน คือการ ดำเนินโปรแกรมส่งเสริมการออกกำลังกายให้เกิดความต่อเนื่อง และขยายผลไปในนักเรียนระดับชั้นอื่นๆต่อไป โดยประยุกต์ให้เหมาะสมกับวัยของนักเรียนแต่ละระดับ This quasi-experimental research was aimed to study the effect of an exercise program for weight control among the fifth grade students from two schools under the Private Education Commission, Bang-rug District, Bangkok Metropolis. The samples were 40 students with overweight, 20 students each in the experimental and the comparison group. The experimental had participated in the program applying self-efficacy theory, group process and social support concepts to promote an exercise. The program session was conducted for 50 minutes, once a week, and lasts for 8 weeks. The comparison group received the traditional education from their shool. Data collection was performed using a set of questionnaire developed by the researcher, before and after the intervention. The data were analyzed by computing percentage, arithmatic mean, standard deviation, Paired Sample t-test and Independent t-test. The research results reveal that after the intervention the experimental group gained significantly higher levels of perceived self-efficacy, expectation of the benefits from exercise, and exercise behavior (p< 0.001) than before the intervention. When comparing between groups, it was found that after the intervention the significantly higher levels of perceived self-efficacy and expectation of the benefits from exercise were found among the experimental group comparing to the comparison group (p<0.001), but the knowledge and exercise behavior was not difference. The exercise program for weight control was found to be effective in changing perceived self-efficacy, expectation of the benefits from exercise for weight control and exercise behavior. Recommendations are that the school administrators should continue this exercise program and provide the program for other class levels by developing this program relevantly with students’ age levels. 2021-03-18T18:57:06Z 2021-03-18T18:57:06Z 2564-03-19 2556 Research Article วารสารสุขศึกษา. ปีที่ 36, ฉบับที่ 124 (พ.ค.- ส.ค. 2556), 61-75 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/61322 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf