ผลของโปรแกรมการกํากับตนเองและการสนับสนุนทางสังคมในพฤติกรรมการบริโภคอาหารของกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง อําเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม

การวิจัยกึ่งทดลองเพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการกำกับตนเองและการสนับสนุนทางสังคมต่อ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารของกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง อำเภอบางเลน จังหวัด นครปฐม ศึกษาแบบกลุ่มทดลองกลุ่มเดียววัดผลก่อนและหลังการทดลอง กลุ่มทดลอง คือ กลุ่มเสี่ยงโรค ความดันโลหิตสูง อายุระหว่าง 35-60 ปี จำน...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: กาญจนา เพ็งเหล็ง, มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์, สุปรียา ตันสกุล, นิรัตน์ อิมามี, Karnjana Pengleng, Manirat Therawiwat, Nirat Imamee, Supreya Tansakul
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2021
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/61339
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.61339
record_format dspace
spelling th-mahidol.613392023-03-31T11:17:35Z ผลของโปรแกรมการกํากับตนเองและการสนับสนุนทางสังคมในพฤติกรรมการบริโภคอาหารของกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง อําเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม Effect of a Self-Regulation and Social Support Program on Food Consumption of Persons at Risk for Hypertension, Banglane District, Nakhorn Pathom Province กาญจนา เพ็งเหล็ง มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์ สุปรียา ตันสกุล นิรัตน์ อิมามี Karnjana Pengleng Manirat Therawiwat Nirat Imamee Supreya Tansakul มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์ การกำกับตนเอง การสนับสนุนทางสังคม กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง Self-regulation Social Support Persons at risk for Hypertension การวิจัยกึ่งทดลองเพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการกำกับตนเองและการสนับสนุนทางสังคมต่อ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารของกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง อำเภอบางเลน จังหวัด นครปฐม ศึกษาแบบกลุ่มทดลองกลุ่มเดียววัดผลก่อนและหลังการทดลอง กลุ่มทดลอง คือ กลุ่มเสี่ยงโรค ความดันโลหิตสูง อายุระหว่าง 35-60 ปี จำนวน 40 คน ซึ่งได้รับโปรแกรมกำกับตนเองและการสนับสนุน ทางสังคม จากผู้วิจัยเป็นระยะเวลาทดลองรวม 10 สัปดาห์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบสัมภาษณ์ แบบบันทึกการตั้งเป้าหมายพฤติกรรมการบริโภคอาหาร วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ร้อยละ ความถี่ ค่า เบี่ยงเบนมาตรฐาน รวมทั้งทดสอบสมมติฐานการวิจัยโดยใช้ Paired Sample’s t-test ผลการวิจัยพบว่า หลังจากเข้าร่วมโปรแกรมการกำกับตนเองและการการสนับสนุนทางสังคม กลุ่มทดลองมีความรู้ การรับรู้ ความสามารถของตนเอง ความคาดหวังในผลดีของการปฏิบัติตนด้านการบริโภคอาหารและมีพฤติกรรม การบริโภคอาหารเพื่อป้องกันโรคความดันโลหิตสูงที่ถูกต้องมากขึ้น อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (pvalue< 0.05) ผลการวิจัยครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า การจัดโปรแกรมการกำกับตนเองร่วมกับการให้แรงสนับสนุน ทางสังคม มีผลทำให้กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงมีพฤติกรรมที่ถูกต้องมากขึ้น ดังนั้นโปรแกรมนี้สามารถ นำไปประยุกต์ใช้กับกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง หรือกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังอื่นๆ เพื่อส่งเสริมให้มีพฤติกรรม สุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสมและเป็นการป้องกันการเกิดโรคเรื้อรัง This Quasi-experimental research was to investigate the effectiveness of a self-regulation and social support program on food consumption behaviors of persons at risk for hypertension at Banglane District, Nakhonpathom Province. The sample was composed of 40 persons at risk for hypertension, aged 35-60 years, who participated in a self-regulation and social support program. The experiment lasted 10 weeks. The instruments were interviewing questionnaires. Data analysis was done by computing frequency, percentage, and standard deviation statistics, including the paired sample ttest for testing the research hypotheses set. The research results showed that after participating in a self-regulation and social support program the experimental group had significantly higher levels of knowledge, perceived self-efficacy and expectation of the benefits from performing appropriate food consumption behavior, and performed significantly better in term of food consumption behaviors (p- <0.01). These research results revealed that the self-regulation and social support program implemented was effective in making persons at risk for hypertension perform more appropriate food consumption behaviors than before the experiment. Therefore, this type of program can be applied to persons at risk for hypertension or other chronic diseases in order to promote proper health behaviors and prevent chronic disease. 2021-03-20T16:04:00Z 2021-03-20T16:04:00Z 2564-03-20 2556 Research Article วารสารสุขศึกษา. ปีที่ 36, ฉบับที่ 123 (ม.ค.- เม.ย. 2556), 37-50 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/61339 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic การกำกับตนเอง
การสนับสนุนทางสังคม
กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง
Self-regulation
Social Support
Persons at risk for Hypertension
spellingShingle การกำกับตนเอง
การสนับสนุนทางสังคม
กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง
Self-regulation
Social Support
Persons at risk for Hypertension
กาญจนา เพ็งเหล็ง
มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์
สุปรียา ตันสกุล
นิรัตน์ อิมามี
Karnjana Pengleng
Manirat Therawiwat
Nirat Imamee
Supreya Tansakul
ผลของโปรแกรมการกํากับตนเองและการสนับสนุนทางสังคมในพฤติกรรมการบริโภคอาหารของกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง อําเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม
description การวิจัยกึ่งทดลองเพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการกำกับตนเองและการสนับสนุนทางสังคมต่อ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารของกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง อำเภอบางเลน จังหวัด นครปฐม ศึกษาแบบกลุ่มทดลองกลุ่มเดียววัดผลก่อนและหลังการทดลอง กลุ่มทดลอง คือ กลุ่มเสี่ยงโรค ความดันโลหิตสูง อายุระหว่าง 35-60 ปี จำนวน 40 คน ซึ่งได้รับโปรแกรมกำกับตนเองและการสนับสนุน ทางสังคม จากผู้วิจัยเป็นระยะเวลาทดลองรวม 10 สัปดาห์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบสัมภาษณ์ แบบบันทึกการตั้งเป้าหมายพฤติกรรมการบริโภคอาหาร วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ร้อยละ ความถี่ ค่า เบี่ยงเบนมาตรฐาน รวมทั้งทดสอบสมมติฐานการวิจัยโดยใช้ Paired Sample’s t-test ผลการวิจัยพบว่า หลังจากเข้าร่วมโปรแกรมการกำกับตนเองและการการสนับสนุนทางสังคม กลุ่มทดลองมีความรู้ การรับรู้ ความสามารถของตนเอง ความคาดหวังในผลดีของการปฏิบัติตนด้านการบริโภคอาหารและมีพฤติกรรม การบริโภคอาหารเพื่อป้องกันโรคความดันโลหิตสูงที่ถูกต้องมากขึ้น อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (pvalue< 0.05) ผลการวิจัยครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า การจัดโปรแกรมการกำกับตนเองร่วมกับการให้แรงสนับสนุน ทางสังคม มีผลทำให้กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงมีพฤติกรรมที่ถูกต้องมากขึ้น ดังนั้นโปรแกรมนี้สามารถ นำไปประยุกต์ใช้กับกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง หรือกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังอื่นๆ เพื่อส่งเสริมให้มีพฤติกรรม สุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสมและเป็นการป้องกันการเกิดโรคเรื้อรัง
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
กาญจนา เพ็งเหล็ง
มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์
สุปรียา ตันสกุล
นิรัตน์ อิมามี
Karnjana Pengleng
Manirat Therawiwat
Nirat Imamee
Supreya Tansakul
format Article
author กาญจนา เพ็งเหล็ง
มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์
สุปรียา ตันสกุล
นิรัตน์ อิมามี
Karnjana Pengleng
Manirat Therawiwat
Nirat Imamee
Supreya Tansakul
author_sort กาญจนา เพ็งเหล็ง
title ผลของโปรแกรมการกํากับตนเองและการสนับสนุนทางสังคมในพฤติกรรมการบริโภคอาหารของกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง อําเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม
title_short ผลของโปรแกรมการกํากับตนเองและการสนับสนุนทางสังคมในพฤติกรรมการบริโภคอาหารของกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง อําเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม
title_full ผลของโปรแกรมการกํากับตนเองและการสนับสนุนทางสังคมในพฤติกรรมการบริโภคอาหารของกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง อําเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม
title_fullStr ผลของโปรแกรมการกํากับตนเองและการสนับสนุนทางสังคมในพฤติกรรมการบริโภคอาหารของกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง อําเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม
title_full_unstemmed ผลของโปรแกรมการกํากับตนเองและการสนับสนุนทางสังคมในพฤติกรรมการบริโภคอาหารของกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง อําเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม
title_sort ผลของโปรแกรมการกํากับตนเองและการสนับสนุนทางสังคมในพฤติกรรมการบริโภคอาหารของกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง อําเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม
publishDate 2021
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/61339
_version_ 1764209772782944256