การวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการถวายอาหารสุขภาพแด่่พระสงฆ์ ของประชาชนอําเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา

การวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการถวายอาหารสุขภาพแด่พระสงฆ์ของประชาชน ตำบลบางนายสี อำเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา กลุ่มตัวอย่างมี จำนวน 32 คน กระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบ่งออกเป็น 4 ขั้นตอน ได้แก่ 1) ขั้นวางแผน (Plan) เป็นขั้นเตรียมการโดยการวิเคราะห์ปัญหาสุขภาพพระสงฆ์ การวางแผนออกแบบโปรแก...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: นัยนา ยอดระบำ, มณฑา เก่งการพานิช, นิรัตน์ อิมามี, ธราดล เก่งการพานิช, Naiyana Yodrabum, Mondha Kengganpanich, NIirat Imame, Tharadol Kengganpanich
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2021
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/61340
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.61340
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic วิจัยปฏิบัติการ
อาหารสุขภาพ
พระสงฆ์
Action research
Healthy food offering behavior
Monk
spellingShingle วิจัยปฏิบัติการ
อาหารสุขภาพ
พระสงฆ์
Action research
Healthy food offering behavior
Monk
นัยนา ยอดระบำ
มณฑา เก่งการพานิช
นิรัตน์ อิมามี
ธราดล เก่งการพานิช
Naiyana Yodrabum
Mondha Kengganpanich
NIirat Imame
Tharadol Kengganpanich
การวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการถวายอาหารสุขภาพแด่่พระสงฆ์ ของประชาชนอําเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา
description การวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการถวายอาหารสุขภาพแด่พระสงฆ์ของประชาชน ตำบลบางนายสี อำเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา กลุ่มตัวอย่างมี จำนวน 32 คน กระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบ่งออกเป็น 4 ขั้นตอน ได้แก่ 1) ขั้นวางแผน (Plan) เป็นขั้นเตรียมการโดยการวิเคราะห์ปัญหาสุขภาพพระสงฆ์ การวางแผนออกแบบโปรแกรมสุขศึกษา และการเตรียมการก่อนนำแผนไปปฏิบัติ 2) ขั้นนำแผนไปปฏิบัติ (Act) เป็นขั้นดำเนินการวิจัยจัดกิจกรรมตามโปรแกรมสุขศึกษาซึ่งประยุกต์ทฤษฎีแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพร่วมกับความสามารถตนเอง จำนวน 5 ครั้ง ครั้งที่ 1-3 เพื่อสร้างความรู้เรื่องอาหารสุขภาพสำหรับพระสงฆ์ การรับรู้โอกาสเสี่ยงของโรคจากการถวายอาหารไม่เหมาะสมแด่พระสงฆ์ การรับรู้ความสามารถตนเอง ความคาดหวังในผลดีของการถวายอาหารสุขภาพแด่พระสงฆ์ และสร้างสิ่งชักนำให้เกิดการปฏิบัติ ครั้งที่ 4-5 เพื่อกระตุ้นให้กลุ่มตัวอย่างมีการถวายอาหารสุขภาพแด่พระสงฆ์อย่างเหมาะสมและต่อเนื่อง 3) ขั้นสังเกตการเปลี่ยนแปลง (Observe) เป็นการประเมินผลการเปลี่ยนแปลงด้วยแบบสัมภาษณ์ และ 4) ขั้นสะท้อนผลการดำเนินงาน (Reflect) เป็นการสรุปเพื่อสะท้อนผลและปัญหาอุปสรรคต่าง ๆ ให้แก่กลุ่มเป้าหมายและชุมชน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติ Wilcoxon signed – rank test ผลการศึกษาพบว่า หลังจัดโปรแกรมสุขศึกษา ประชาชนกลุ่มตัวอย่างมีด้านความรู้เรื่องอาหารสุขภาพสำหรับพระสงฆ์ การรับรู้โอกาสเสี่ยงของโรคจากการถวายอาหารไม่เหมาะสมแด่พระสงฆ์ การรับรู้ความสามารถตนเองในการถวายอาหารสุขภาพแด่พระสงฆ์ ความคาดหวังในผลดีของการถวายอาหารสุขภาพแด่พระสงฆ์ และพฤติกรรมการถวายอาหารสุขภาพแด่พระสงฆ์ดีกว่าหรือเหมาะสมมากกว่าก่อนจัดโปรแกรมสุขศึกษา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p< 0.001) ข้อเสนอแนะคือโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลควรจัดทำโครงการรณรงค์และกิจกรรมกระตุ้นให้ประชาชนถวายอาหารสุขภาพแด่พระสงฆ์ทั้งในระดับชุมชนและระดับบุคคลอย่างต่อเนื่อง
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
นัยนา ยอดระบำ
มณฑา เก่งการพานิช
นิรัตน์ อิมามี
ธราดล เก่งการพานิช
Naiyana Yodrabum
Mondha Kengganpanich
NIirat Imame
Tharadol Kengganpanich
format Article
author นัยนา ยอดระบำ
มณฑา เก่งการพานิช
นิรัตน์ อิมามี
ธราดล เก่งการพานิช
Naiyana Yodrabum
Mondha Kengganpanich
NIirat Imame
Tharadol Kengganpanich
author_sort นัยนา ยอดระบำ
title การวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการถวายอาหารสุขภาพแด่่พระสงฆ์ ของประชาชนอําเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา
title_short การวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการถวายอาหารสุขภาพแด่่พระสงฆ์ ของประชาชนอําเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา
title_full การวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการถวายอาหารสุขภาพแด่่พระสงฆ์ ของประชาชนอําเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา
title_fullStr การวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการถวายอาหารสุขภาพแด่่พระสงฆ์ ของประชาชนอําเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา
title_full_unstemmed การวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการถวายอาหารสุขภาพแด่่พระสงฆ์ ของประชาชนอําเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา
title_sort การวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการถวายอาหารสุขภาพแด่่พระสงฆ์ ของประชาชนอําเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา
publishDate 2021
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/61340
_version_ 1763497929296838656
spelling th-mahidol.613402023-03-30T11:44:42Z การวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการถวายอาหารสุขภาพแด่่พระสงฆ์ ของประชาชนอําเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา An Action Research to Promote Healthy Food Offering Behaviors to Monks of People in Takuapa District, Phang-Nga Province นัยนา ยอดระบำ มณฑา เก่งการพานิช นิรัตน์ อิมามี ธราดล เก่งการพานิช Naiyana Yodrabum Mondha Kengganpanich NIirat Imame Tharadol Kengganpanich มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์ วิจัยปฏิบัติการ อาหารสุขภาพ พระสงฆ์ Action research Healthy food offering behavior Monk การวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการถวายอาหารสุขภาพแด่พระสงฆ์ของประชาชน ตำบลบางนายสี อำเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา กลุ่มตัวอย่างมี จำนวน 32 คน กระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบ่งออกเป็น 4 ขั้นตอน ได้แก่ 1) ขั้นวางแผน (Plan) เป็นขั้นเตรียมการโดยการวิเคราะห์ปัญหาสุขภาพพระสงฆ์ การวางแผนออกแบบโปรแกรมสุขศึกษา และการเตรียมการก่อนนำแผนไปปฏิบัติ 2) ขั้นนำแผนไปปฏิบัติ (Act) เป็นขั้นดำเนินการวิจัยจัดกิจกรรมตามโปรแกรมสุขศึกษาซึ่งประยุกต์ทฤษฎีแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพร่วมกับความสามารถตนเอง จำนวน 5 ครั้ง ครั้งที่ 1-3 เพื่อสร้างความรู้เรื่องอาหารสุขภาพสำหรับพระสงฆ์ การรับรู้โอกาสเสี่ยงของโรคจากการถวายอาหารไม่เหมาะสมแด่พระสงฆ์ การรับรู้ความสามารถตนเอง ความคาดหวังในผลดีของการถวายอาหารสุขภาพแด่พระสงฆ์ และสร้างสิ่งชักนำให้เกิดการปฏิบัติ ครั้งที่ 4-5 เพื่อกระตุ้นให้กลุ่มตัวอย่างมีการถวายอาหารสุขภาพแด่พระสงฆ์อย่างเหมาะสมและต่อเนื่อง 3) ขั้นสังเกตการเปลี่ยนแปลง (Observe) เป็นการประเมินผลการเปลี่ยนแปลงด้วยแบบสัมภาษณ์ และ 4) ขั้นสะท้อนผลการดำเนินงาน (Reflect) เป็นการสรุปเพื่อสะท้อนผลและปัญหาอุปสรรคต่าง ๆ ให้แก่กลุ่มเป้าหมายและชุมชน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติ Wilcoxon signed – rank test ผลการศึกษาพบว่า หลังจัดโปรแกรมสุขศึกษา ประชาชนกลุ่มตัวอย่างมีด้านความรู้เรื่องอาหารสุขภาพสำหรับพระสงฆ์ การรับรู้โอกาสเสี่ยงของโรคจากการถวายอาหารไม่เหมาะสมแด่พระสงฆ์ การรับรู้ความสามารถตนเองในการถวายอาหารสุขภาพแด่พระสงฆ์ ความคาดหวังในผลดีของการถวายอาหารสุขภาพแด่พระสงฆ์ และพฤติกรรมการถวายอาหารสุขภาพแด่พระสงฆ์ดีกว่าหรือเหมาะสมมากกว่าก่อนจัดโปรแกรมสุขศึกษา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p< 0.001) ข้อเสนอแนะคือโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลควรจัดทำโครงการรณรงค์และกิจกรรมกระตุ้นให้ประชาชนถวายอาหารสุขภาพแด่พระสงฆ์ทั้งในระดับชุมชนและระดับบุคคลอย่างต่อเนื่อง This action research aimed to promote behavior of offering healthy food to monks in two villages of Bangnaisee Sub-district, Takuapa District, Phang-Nga Province, thirty-two samples who were selected in accordance with the inclusion criteria and participated in this process. This action research composed of four stages; the first is planning stage or preparation stage which analysis of composed of monks’ health problem, planning health education program, and preparation before program implementation. The second is action stage or research implementation which the Health Belief Model and Self-Efficacy Theory were applied to set up five sessions in which the first three activities aimed to enhance the participants’ knowledge about healthy food offered to monks, perceived susceptibility of diseases from unhealthy food offering behavior to monks, perceived self-efficacy, outcome expectation of the benefits from healthy food offering behavior to monks and promote cues to actions. The fourth and the fifth activities were implemented by aiming to motivate the participants to offer healthy food to monks appropriately and continuously. The third stage is observational stage for evaluating the changes by interviewed questionnaire. As well the fourth stage is reflection stage for providing feedback about the outcome, problems and obstacles to target people and community. The data between before and after program implementation were analyzed by using the Wilcoxon signed-rank test. The research outcomes indicated that after the health education program had been implemented sample group had knowledge about healthy food offering to monks, perceived susceptibility of diseases from unhealthy food offering behavior to monks, perceived self-efficacy, outcome expectation of the benefits from offering healthy food to monks, and behaviors regarding offering healthy food to monks were better than those before health education program implementation with statistical significance. (p<0.001). It is recommended that sub-district health promoting hospitals should organize campaigns and activities aimed to stimulate people in the community to offer healthy food to monks continuously both at the community and individual levels. 2021-03-20T16:23:28Z 2021-03-20T16:23:28Z 2564-03-20 2556 Research Article วารสารสุขศึกษา. ปีที่ 36, ฉบับที่ 123 (ม.ค.- เม.ย. 2556), 51-64 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/61340 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf