ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความรู้สึกกลัวตายของผู้สูงอายุโรคเรื้อรังที่อาศัยอยู่ตามลำพังในชุมชน

การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความรู้สึกกลัวตาย ของผู้สูงอายุโรคเรื้อรังที่อาศัยอยู่ตามลำพังในชุุมชน และความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุุคคล และปัจจัยทางสังคมกับความรู้สึกกลัวตายของผู้สูงอายุโรคเรื้อรังที่อาศัยอยู่ตามลำพังในชุุมชน กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้สูงอายุโรคเรื้...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ผจงจิต ไกรถาวร, รัตนา บุญพา, นพวรรณ เปียซื่อ, Phachongchit Kraithaworn, Rattana Boonpha, Noppawan Piasue
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี
Format: Article
Language:Thai
Published: 2021
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/62040
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.62040
record_format dspace
spelling th-mahidol.620402023-03-30T17:49:13Z ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความรู้สึกกลัวตายของผู้สูงอายุโรคเรื้อรังที่อาศัยอยู่ตามลำพังในชุมชน Factors Related to Fear of Death among Community Dwelling Older Adults Living Alone with Chronic Diseases ผจงจิต ไกรถาวร รัตนา บุญพา นพวรรณ เปียซื่อ Phachongchit Kraithaworn Rattana Boonpha Noppawan Piasue มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี ผู้สูงอายุโรคเรื้อรัง อาศัยตามลำพัง ชุมชน ความรู้สึกกลัวตาย การสนับสนุนทางสังคม Older adults with chronic disease Living alone Community Fear of death Social support การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความรู้สึกกลัวตาย ของผู้สูงอายุโรคเรื้อรังที่อาศัยอยู่ตามลำพังในชุุมชน และความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุุคคล และปัจจัยทางสังคมกับความรู้สึกกลัวตายของผู้สูงอายุโรคเรื้อรังที่อาศัยอยู่ตามลำพังในชุุมชน กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้สูงอายุโรคเรื้อรังที่่อาศัยอยู่ตามลำพัง ในจังหวัดทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำนวน 262 ราย เก็บข้อมูล โดยแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุุคคล แบบประเมินการสนับสนุนทางสังคม และความรู้สึกกลัวตาย วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติบรรยาย สถิติไบซีเรียล และสถิติสหสัมพันธ์ สเปียร์แมนผล การศึกษาพบว่า ผู้สูงอายุุมีอายุุเฉลี่่ย 70.92 ปี (SD = 7.36) เกินครึ่่งได้รับการ สนับสนุนทางสังคมโดยรวมระดับปานกลาง และมีความรู้สึกกลัวตายในระดับมาก รายได้และระดับ การศึกษามีความสัมพันธ์ทางลบกับความรู้สึกกลัวตาย ส่วนการสนับสนุนทางสังคมโดยรวม การ สนับสนุนด้านวัตถุสิ่งของ และการสนับสนุุนด้านการประเมินคุุณค่ามีความสัมพันธ์ทางบวกกับ ความรู้สึกกลัวตาย แต่เพศ อายุุ และสถานภาพสมรสไม่มีความสัมพันธ์กับความรู้สึกกลัวตาย ข้อเสนอแนะในการดููแลผู้สูงอายุุกลุ่มนี้ จึงจำเป็นต้องคำนึงถึงความรู้สึกกลัวตาย การให้ครอบครัว หรืื อบุุคคลที่่เกี่่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่วม ในการดูแลให้ข้อมููล แก่ผู้สูงอายุให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ เกี่่ยวกับการเจ็บป่วยและการรัักษาโดยเฉพาะผู้ที่มีการศึกษาน้อย และรายได้ต่ำจะช่วยให้ผู้สูงอายุ เกิิดความมั่นใจในการดูู แลตนเองและอาจทำให้ความรู้สึกกลัวตายลดลง This descriptive research aimed to 1) describe the fear of death, and 2) examine relationships of personal factors and social support with fear of death among community-dwelling older adults living alone with chronic diseases. The sampleconsisted of 262 older adults living alone with chronic diseases in a province of the northeastern region. Data were collected using the demographic characteristics, social support and fear of death questionnaire and analyzed using Descriptive statistics, Biserialcorrelation, and Spearman’s rank correlation. The findings revealed that the mean age of the participant was 70.92 years. More than half of them had social support at a moderate level, and the fear of death at a high level. Correlation analysis revealed that income and education were significantly negatively associated with the fear of death, while overall social support, tangible, and appraisal support were significantly positivelyassociated with the fear of death. However, sex, age, and marital status were not associatedwith it. Therefore, in caring for this group, it is necessary to assess their fear of death, promote the family and related persons to participate in care, and provide information to educate older adults living alone about their illness and treatment, especially those with low education and low incomes. These caring actions will help them become more confident in their self-care and might reduce the fear of death. 2021-04-27T04:31:06Z 2021-04-27T04:31:06Z 2564-04-26 2563 Article รามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 26, ฉบับที่ 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2563), 325-337 0858-9739 (Print) 2672-9784 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/62040 tha มหาวิทยาลัยมหิดล โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic ผู้สูงอายุโรคเรื้อรัง
อาศัยตามลำพัง
ชุมชน
ความรู้สึกกลัวตาย
การสนับสนุนทางสังคม
Older adults with chronic disease
Living alone
Community
Fear of death
Social support
spellingShingle ผู้สูงอายุโรคเรื้อรัง
อาศัยตามลำพัง
ชุมชน
ความรู้สึกกลัวตาย
การสนับสนุนทางสังคม
Older adults with chronic disease
Living alone
Community
Fear of death
Social support
ผจงจิต ไกรถาวร
รัตนา บุญพา
นพวรรณ เปียซื่อ
Phachongchit Kraithaworn
Rattana Boonpha
Noppawan Piasue
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความรู้สึกกลัวตายของผู้สูงอายุโรคเรื้อรังที่อาศัยอยู่ตามลำพังในชุมชน
description การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความรู้สึกกลัวตาย ของผู้สูงอายุโรคเรื้อรังที่อาศัยอยู่ตามลำพังในชุุมชน และความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุุคคล และปัจจัยทางสังคมกับความรู้สึกกลัวตายของผู้สูงอายุโรคเรื้อรังที่อาศัยอยู่ตามลำพังในชุุมชน กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้สูงอายุโรคเรื้อรังที่่อาศัยอยู่ตามลำพัง ในจังหวัดทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำนวน 262 ราย เก็บข้อมูล โดยแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุุคคล แบบประเมินการสนับสนุนทางสังคม และความรู้สึกกลัวตาย วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติบรรยาย สถิติไบซีเรียล และสถิติสหสัมพันธ์ สเปียร์แมนผล การศึกษาพบว่า ผู้สูงอายุุมีอายุุเฉลี่่ย 70.92 ปี (SD = 7.36) เกินครึ่่งได้รับการ สนับสนุนทางสังคมโดยรวมระดับปานกลาง และมีความรู้สึกกลัวตายในระดับมาก รายได้และระดับ การศึกษามีความสัมพันธ์ทางลบกับความรู้สึกกลัวตาย ส่วนการสนับสนุนทางสังคมโดยรวม การ สนับสนุนด้านวัตถุสิ่งของ และการสนับสนุุนด้านการประเมินคุุณค่ามีความสัมพันธ์ทางบวกกับ ความรู้สึกกลัวตาย แต่เพศ อายุุ และสถานภาพสมรสไม่มีความสัมพันธ์กับความรู้สึกกลัวตาย ข้อเสนอแนะในการดููแลผู้สูงอายุุกลุ่มนี้ จึงจำเป็นต้องคำนึงถึงความรู้สึกกลัวตาย การให้ครอบครัว หรืื อบุุคคลที่่เกี่่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่วม ในการดูแลให้ข้อมููล แก่ผู้สูงอายุให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ เกี่่ยวกับการเจ็บป่วยและการรัักษาโดยเฉพาะผู้ที่มีการศึกษาน้อย และรายได้ต่ำจะช่วยให้ผู้สูงอายุ เกิิดความมั่นใจในการดูู แลตนเองและอาจทำให้ความรู้สึกกลัวตายลดลง
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี
ผจงจิต ไกรถาวร
รัตนา บุญพา
นพวรรณ เปียซื่อ
Phachongchit Kraithaworn
Rattana Boonpha
Noppawan Piasue
format Article
author ผจงจิต ไกรถาวร
รัตนา บุญพา
นพวรรณ เปียซื่อ
Phachongchit Kraithaworn
Rattana Boonpha
Noppawan Piasue
author_sort ผจงจิต ไกรถาวร
title ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความรู้สึกกลัวตายของผู้สูงอายุโรคเรื้อรังที่อาศัยอยู่ตามลำพังในชุมชน
title_short ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความรู้สึกกลัวตายของผู้สูงอายุโรคเรื้อรังที่อาศัยอยู่ตามลำพังในชุมชน
title_full ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความรู้สึกกลัวตายของผู้สูงอายุโรคเรื้อรังที่อาศัยอยู่ตามลำพังในชุมชน
title_fullStr ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความรู้สึกกลัวตายของผู้สูงอายุโรคเรื้อรังที่อาศัยอยู่ตามลำพังในชุมชน
title_full_unstemmed ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความรู้สึกกลัวตายของผู้สูงอายุโรคเรื้อรังที่อาศัยอยู่ตามลำพังในชุมชน
title_sort ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความรู้สึกกลัวตายของผู้สูงอายุโรคเรื้อรังที่อาศัยอยู่ตามลำพังในชุมชน
publishDate 2021
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/62040
_version_ 1763490393026985984