การศึกษารูปแบบสนามฝึกอบรมเพื่อพัฒนาทักษะการทำความคุ้นเคยกับสภาพแวดล้อม และการเคลื่อนไหวสำหรับคนพิการทางการเห็น

งานวิจัยเรื่อง "การศึกษารูปแบบสนามฝึกอบรมเพื่อพัฒนาทักษะการทำความคุ้นเคยกับสภาพแวดล้อมและการเคลื่อนไหวสำหรับคนพิการทางการเห็น" มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิดด้านองค์ประกอบของสนามฝึกอบรมทักษะการทำความคุ้นเคยกับสภาพแวดล้อมและการเคลื่อนไหวสำหรับคนพิการทางการเห็นที่เหมาะสม ผู้วิจัยได้ใช้การวิเ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: สุวัฒน์ชัย จันทร์เฮง, Suwatchai Chanheng
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. วิทยาลัยราชสุดา
Format: Article
Language:Thai
Published: 2021
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/63087
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.63087
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic คนพิการทางการเห็น
สนามฝึกอบรม
การทำความคุ้นเคยกับสภาพแวดล้อมและการเคลื่อนไหว
Visually Impaired
Training Field Model
Orientation and Mobility
วารสารวิทยาลัยราชสุดาเพื่อการวิจัยและพัฒนาคนพิการ
Journal of Ratchasuda College, Research and Development of Persons With Disabilities
spellingShingle คนพิการทางการเห็น
สนามฝึกอบรม
การทำความคุ้นเคยกับสภาพแวดล้อมและการเคลื่อนไหว
Visually Impaired
Training Field Model
Orientation and Mobility
วารสารวิทยาลัยราชสุดาเพื่อการวิจัยและพัฒนาคนพิการ
Journal of Ratchasuda College, Research and Development of Persons With Disabilities
สุวัฒน์ชัย จันทร์เฮง
Suwatchai Chanheng
การศึกษารูปแบบสนามฝึกอบรมเพื่อพัฒนาทักษะการทำความคุ้นเคยกับสภาพแวดล้อม และการเคลื่อนไหวสำหรับคนพิการทางการเห็น
description งานวิจัยเรื่อง "การศึกษารูปแบบสนามฝึกอบรมเพื่อพัฒนาทักษะการทำความคุ้นเคยกับสภาพแวดล้อมและการเคลื่อนไหวสำหรับคนพิการทางการเห็น" มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิดด้านองค์ประกอบของสนามฝึกอบรมทักษะการทำความคุ้นเคยกับสภาพแวดล้อมและการเคลื่อนไหวสำหรับคนพิการทางการเห็นที่เหมาะสม ผู้วิจัยได้ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพแบบสามเส้า พบว่า ขนาดของสนามที่ใช้ฝึกทักษะการเดินทางสำหรับคนพิการทางการเห็นทั้งสามกลุ่มมีความเห็นตรงกัน ไม่สามารถกำหนดขนาดพื้นที่ของสนามฝึกทักษะการเดินทางสำหรับคนพิการทางการเห็นที่เป็นมาตรฐานได้ ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมของแต่ละพื้นที่ (ถ้ามีขนาดเท่ากับสนามฟุตบอลมาตรฐานก็จะทำเส้นทางการฝึกได้มาก) การสอนการเดินทางให้กับคนพิการทางการเห็น ควรมีพื้นที่สภาพแวดล้อมในเมืองหรือชนบทองค์ประกอบที่สำคัญที่มีในสนามฝึกอบรมคนพิการทางการเห็นควรมีองค์ประกอบ ถนน ตรอก ซอย ทางแยก ทางข้าม สะพาน ฟุตบาทตามมาตราฐาน หญ้า พุ่มไม้ ต้นไม้ พื้นทางเดินแบบต่างๆ (คอนกรีต/ยางมะตอย/ลูกรัง/ดิน/น้ำ) ช่องทางเดินจัดให้เป็นไปตามสภาพจริง แต่ควรออกแบบให้มีพื้นผิวต่างสัมผัสตามสภาพจริง เช่น พื้นที่ราบเรียบ ขรุขระ แอ่งน้ำ เป็นเนินสูงๆต่ำๆ เป็นช่วงระยะทางสั้นบ้างยาวบ้างจะได้สร้างความคุ้นชิน ทางเดินคนเดียวขนาดไม่ต่ำกว่า 1ช่วงไหล่ (ประมาณ 80 เซนติเมตร) เพื่อที่จะใช้เทคนิคไม้เท้าในการสัมผัสพื้นผิวช่องทางเดิน และใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ในการรับรู้สิ่งต่างๆ สนามฝึกทักษะควรมี จุดสังเกต 2 แบบ คือ แบบถาวร และแบบชั่วคราว สนามฝึกควรมีสภาพแวดล้อมทั้งแบบในเมือง และแบบชนบท ส่วนด้านช่วงอายุที่เหมาะสมพบว่า คนพิการทางการเห็นมีด้วยกันสองกลุ่ม คนพิการทางการเห็นกลุ่มคนพิการทางการเห็นที่มีมาแต่กำเนิด และกลุ่มคนพิการทางการเห็นที่พิการภายหลัง เวลาการฝึกรอบละไม่ควรเกิน 3 ชั่วโมง (รวมเวลาพักแล้ว) และถ้าคนพิการทางการเห็นอยู่ในวัยเด็กต้องผ่านการเตรียมความพร้อมพื้นฐานในการเรียนรู้สิ่งต่างๆรอบตัว (การใช้สัมผัสทั้ง 5) มาก่อนการสอนการเดินทางส่วนใหญ่จะมีช่วงอายุประมาณ 10ปีขึ้นไป เวลาการฝึกควรฝึกทักษะรอบละไม่ควรเกิน1ชั่วโมง (รวมเวลาพักแล้ว)
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. วิทยาลัยราชสุดา
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. วิทยาลัยราชสุดา
สุวัฒน์ชัย จันทร์เฮง
Suwatchai Chanheng
format Article
author สุวัฒน์ชัย จันทร์เฮง
Suwatchai Chanheng
author_sort สุวัฒน์ชัย จันทร์เฮง
title การศึกษารูปแบบสนามฝึกอบรมเพื่อพัฒนาทักษะการทำความคุ้นเคยกับสภาพแวดล้อม และการเคลื่อนไหวสำหรับคนพิการทางการเห็น
title_short การศึกษารูปแบบสนามฝึกอบรมเพื่อพัฒนาทักษะการทำความคุ้นเคยกับสภาพแวดล้อม และการเคลื่อนไหวสำหรับคนพิการทางการเห็น
title_full การศึกษารูปแบบสนามฝึกอบรมเพื่อพัฒนาทักษะการทำความคุ้นเคยกับสภาพแวดล้อม และการเคลื่อนไหวสำหรับคนพิการทางการเห็น
title_fullStr การศึกษารูปแบบสนามฝึกอบรมเพื่อพัฒนาทักษะการทำความคุ้นเคยกับสภาพแวดล้อม และการเคลื่อนไหวสำหรับคนพิการทางการเห็น
title_full_unstemmed การศึกษารูปแบบสนามฝึกอบรมเพื่อพัฒนาทักษะการทำความคุ้นเคยกับสภาพแวดล้อม และการเคลื่อนไหวสำหรับคนพิการทางการเห็น
title_sort การศึกษารูปแบบสนามฝึกอบรมเพื่อพัฒนาทักษะการทำความคุ้นเคยกับสภาพแวดล้อม และการเคลื่อนไหวสำหรับคนพิการทางการเห็น
publishDate 2021
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/63087
_version_ 1763494660600233984
spelling th-mahidol.630872023-03-31T03:37:41Z การศึกษารูปแบบสนามฝึกอบรมเพื่อพัฒนาทักษะการทำความคุ้นเคยกับสภาพแวดล้อม และการเคลื่อนไหวสำหรับคนพิการทางการเห็น A Study of Training Field Model in Orientation and Mobility for Skill Development of Persons with Visual Impairment สุวัฒน์ชัย จันทร์เฮง Suwatchai Chanheng มหาวิทยาลัยมหิดล. วิทยาลัยราชสุดา คนพิการทางการเห็น สนามฝึกอบรม การทำความคุ้นเคยกับสภาพแวดล้อมและการเคลื่อนไหว Visually Impaired Training Field Model Orientation and Mobility วารสารวิทยาลัยราชสุดาเพื่อการวิจัยและพัฒนาคนพิการ Journal of Ratchasuda College, Research and Development of Persons With Disabilities งานวิจัยเรื่อง "การศึกษารูปแบบสนามฝึกอบรมเพื่อพัฒนาทักษะการทำความคุ้นเคยกับสภาพแวดล้อมและการเคลื่อนไหวสำหรับคนพิการทางการเห็น" มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิดด้านองค์ประกอบของสนามฝึกอบรมทักษะการทำความคุ้นเคยกับสภาพแวดล้อมและการเคลื่อนไหวสำหรับคนพิการทางการเห็นที่เหมาะสม ผู้วิจัยได้ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพแบบสามเส้า พบว่า ขนาดของสนามที่ใช้ฝึกทักษะการเดินทางสำหรับคนพิการทางการเห็นทั้งสามกลุ่มมีความเห็นตรงกัน ไม่สามารถกำหนดขนาดพื้นที่ของสนามฝึกทักษะการเดินทางสำหรับคนพิการทางการเห็นที่เป็นมาตรฐานได้ ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมของแต่ละพื้นที่ (ถ้ามีขนาดเท่ากับสนามฟุตบอลมาตรฐานก็จะทำเส้นทางการฝึกได้มาก) การสอนการเดินทางให้กับคนพิการทางการเห็น ควรมีพื้นที่สภาพแวดล้อมในเมืองหรือชนบทองค์ประกอบที่สำคัญที่มีในสนามฝึกอบรมคนพิการทางการเห็นควรมีองค์ประกอบ ถนน ตรอก ซอย ทางแยก ทางข้าม สะพาน ฟุตบาทตามมาตราฐาน หญ้า พุ่มไม้ ต้นไม้ พื้นทางเดินแบบต่างๆ (คอนกรีต/ยางมะตอย/ลูกรัง/ดิน/น้ำ) ช่องทางเดินจัดให้เป็นไปตามสภาพจริง แต่ควรออกแบบให้มีพื้นผิวต่างสัมผัสตามสภาพจริง เช่น พื้นที่ราบเรียบ ขรุขระ แอ่งน้ำ เป็นเนินสูงๆต่ำๆ เป็นช่วงระยะทางสั้นบ้างยาวบ้างจะได้สร้างความคุ้นชิน ทางเดินคนเดียวขนาดไม่ต่ำกว่า 1ช่วงไหล่ (ประมาณ 80 เซนติเมตร) เพื่อที่จะใช้เทคนิคไม้เท้าในการสัมผัสพื้นผิวช่องทางเดิน และใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ในการรับรู้สิ่งต่างๆ สนามฝึกทักษะควรมี จุดสังเกต 2 แบบ คือ แบบถาวร และแบบชั่วคราว สนามฝึกควรมีสภาพแวดล้อมทั้งแบบในเมือง และแบบชนบท ส่วนด้านช่วงอายุที่เหมาะสมพบว่า คนพิการทางการเห็นมีด้วยกันสองกลุ่ม คนพิการทางการเห็นกลุ่มคนพิการทางการเห็นที่มีมาแต่กำเนิด และกลุ่มคนพิการทางการเห็นที่พิการภายหลัง เวลาการฝึกรอบละไม่ควรเกิน 3 ชั่วโมง (รวมเวลาพักแล้ว) และถ้าคนพิการทางการเห็นอยู่ในวัยเด็กต้องผ่านการเตรียมความพร้อมพื้นฐานในการเรียนรู้สิ่งต่างๆรอบตัว (การใช้สัมผัสทั้ง 5) มาก่อนการสอนการเดินทางส่วนใหญ่จะมีช่วงอายุประมาณ 10ปีขึ้นไป เวลาการฝึกควรฝึกทักษะรอบละไม่ควรเกิน1ชั่วโมง (รวมเวลาพักแล้ว) The research "A Study of Training Field Model in Orientation and Mobility for Skill Development of Persons with Visual Impairment" is aimed to study the concept of Training Field Model in Orientation and Mobility for Skill Development of Persons with Visual Impairment. The researcher used the triangular qualitative data analysis to find the situable size and Environmental features of the field used to train travel skills for persons with visual impairments. The researcher was unable to determine the standard area for the training field because the location includes both urban and rural areas. The most important elements of the visual training field are the composition of roads, alleyways, intersections, bridges, footpaths, grasses, shrubs, trees, walkways. The walkway was arranged in the actual condition but it must be re-designed so that the surfaces can be exposed to the actual conditions such as flat areas, high basins in a short distance or a bit longer to get used to the pedestrian walkway. Also, it should be at least one shoulder span (80 cm) to use the touch of the walkway surface as well as to recognize the five senses. The skill training field must have permanent and temporary landmark and the training ground must be in both urban and rural environments. There were two groups of people: those who lost their vision by birth and those who lost their vision recently. Each of their training time should not exceed three hours (including rest time) and for those individuals who are children, they must go through basic preparation for learning various things (Using all five senses) before training. Trainee's age range should be at least 10 years or above and the practice time for the training should not exceed 1 hour (Including break time). 2021-08-06T06:15:37Z 2021-08-06T06:15:37Z 2564-08-06 2564 Research Article วารสารวิทยาลัยราชสุดาเพื่อการวิจัยและพัฒนาคนพิการ. ปีที่ 17, ฉบับที่ 1 (ม.ค.- มิ.ย. 2564), 19-32 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/63087 tha มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf