ประสิทธิผลของโปรแกรมสุขศึกษาในการลดน้ำหนักนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น ที่มีภาวะอ้วน ในจังหวัดสมุทรปราการ

การวิจัยกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมสุขศึกษาในการ ลดน้ำหนักนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นที่มีภาวะอ้วนในจังหวัดสมุทรปราการ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 และ 3 ที่มีภาวะอ้วน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 38 คนและกลุ่มเปรียบเทียบ 34 คน ประเมินการเปลี่ยนแปลงโดยการตอบ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: วรานันทน์ ดีหอมศีล, สุปรียา ตันสกุล, อาภาพร เผ่าวัฒนา, ธราดล เก่งการพานิช, Waranun Deehomsin, Supreya Tansakul, Arpaporn Powwattana, Tharadol Kengganpanich
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2021
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/63205
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.63205
record_format dspace
spelling th-mahidol.632052023-03-30T20:59:17Z ประสิทธิผลของโปรแกรมสุขศึกษาในการลดน้ำหนักนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น ที่มีภาวะอ้วน ในจังหวัดสมุทรปราการ The Effectiveness of Health Education Program on Weight Reduction Among Obese Students in Junior High School, Samutprakan Province วรานันทน์ ดีหอมศีล สุปรียา ตันสกุล อาภาพร เผ่าวัฒนา ธราดล เก่งการพานิช Waranun Deehomsin Supreya Tansakul Arpaporn Powwattana Tharadol Kengganpanich มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลสาธารณสุข กรุงเทพมหานคร. โรงพยาบาลรามคำแหง ประสิทธิผลของโปรแกรมสุขศึกษา ลดน้ำหนัก นักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น ภาวะอ้วน Thai Journal of Health Education การวิจัยกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมสุขศึกษาในการ ลดน้ำหนักนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นที่มีภาวะอ้วนในจังหวัดสมุทรปราการ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 และ 3 ที่มีภาวะอ้วน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 38 คนและกลุ่มเปรียบเทียบ 34 คน ประเมินการเปลี่ยนแปลงโดยการตอบแบบสอบถามและชั่งน้ำหนัก เก็บข้อมูล 3 ระยะคือก่อน การทดลอง หลังการทดลองและระยะติดตามผล วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน Chi-square test, ANCOVA, Independent t-test และ Repeated Measure one-way ANOVA ผลการศึกษาพบว่าหลังการทดลองกลุ่มทดลองมีความรู้เกี่ยวกับโรคอ้วนและการลดน้ำหนัก พฤติกรรมการควบคุมตนเอง และพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ดีกว่าก่อนการทดลองและไม่ลดลง ในระยะติดตามผล ความรู้เกี่ยวกับโรคอ้วนและการลดน้ำหนักดีกว่ากลุ่มเปรียบเทียบในระยะหลังการ ทดลองแต่ไม่ดีกว่าในระยะติดตามผล ส่วนพฤติกรรมการบริโภคอาหารดีกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) พฤติกรรมการออกกำลังกายและการเคลื่อนไหว เจตคติต่อ โรคอ้วน และการลดน้ำหนัก ไม่แตกต่างกันระหว่างก่อนการทดลองและหลังการทดลอง แต่พบว่า ดีกว่ากลุ่ม เปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) การได้รับการสนับสนุนจากเพื่อนในการลด น้ำหนักไม่แตกต่างกันระหว่างก่อนการทดลองและหลังการทดลอง และโปรแกรมสุขศึกษาไม่ สามารถทำให้น้ำหนักตัวลดลงได้ทั้งในระยะหลังการทดลองและระยะติดตามผล This quasi-experimental research aimed to explore the effectiveness of a health education program on weight reduction among obese students in junior high school, in Samutprakan Province. The samples were Mathayomsuksa 2 and 3 obese students consisting of 38 students in the experimental group and 34 students in the comparison group. Their changes were evaluated with questionnaires and weight measurements. The data had been collected during 3 stages: before the experiment, after the experiment, and in the follow-up stage. The data analysis was made by percentage, mean, standard deviation, Chi-square test, ANCOVA, Independent t-test, and Repeated Measure one-way ANOVA. The findings of the study revealed that after the experiment, the experimental group had better knowledge about obesity and weight reduction, self-control behaviors, and food consumption behaviors, than before the experiment, which they still maintained during the follow-up stage. Their knowledge about obesity and weight reduction was better than the comparison group after the experiment, but was not better than the follow-up stage. Whereas their food consumption behavior was better than the comparison group with a statistical significance (p<0.05). Their exercise and movement behaviors, attitudes toward obesity and weight reduction did not differ between before and after the experiment, but were better than the comparison group with a statistical significance (p<0.05). Weight reduction support from friends did not differ between before the experiment and after the experiment; and the health education program did not contribute to weight reduction after the experiment and the follow-up stage. 2021-08-20T03:21:30Z 2021-08-20T03:21:30Z 2564-08-20 2554 Research Article วารสารสุขศึกษา. ปีที่ 34, ฉบับที่ 118 (พ.ค.- ส.ค. 2554), 1-19 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/63205 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic ประสิทธิผลของโปรแกรมสุขศึกษา
ลดน้ำหนัก
นักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น
ภาวะอ้วน
Thai Journal of Health Education
spellingShingle ประสิทธิผลของโปรแกรมสุขศึกษา
ลดน้ำหนัก
นักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น
ภาวะอ้วน
Thai Journal of Health Education
วรานันทน์ ดีหอมศีล
สุปรียา ตันสกุล
อาภาพร เผ่าวัฒนา
ธราดล เก่งการพานิช
Waranun Deehomsin
Supreya Tansakul
Arpaporn Powwattana
Tharadol Kengganpanich
ประสิทธิผลของโปรแกรมสุขศึกษาในการลดน้ำหนักนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น ที่มีภาวะอ้วน ในจังหวัดสมุทรปราการ
description การวิจัยกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมสุขศึกษาในการ ลดน้ำหนักนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นที่มีภาวะอ้วนในจังหวัดสมุทรปราการ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 และ 3 ที่มีภาวะอ้วน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 38 คนและกลุ่มเปรียบเทียบ 34 คน ประเมินการเปลี่ยนแปลงโดยการตอบแบบสอบถามและชั่งน้ำหนัก เก็บข้อมูล 3 ระยะคือก่อน การทดลอง หลังการทดลองและระยะติดตามผล วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน Chi-square test, ANCOVA, Independent t-test และ Repeated Measure one-way ANOVA ผลการศึกษาพบว่าหลังการทดลองกลุ่มทดลองมีความรู้เกี่ยวกับโรคอ้วนและการลดน้ำหนัก พฤติกรรมการควบคุมตนเอง และพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ดีกว่าก่อนการทดลองและไม่ลดลง ในระยะติดตามผล ความรู้เกี่ยวกับโรคอ้วนและการลดน้ำหนักดีกว่ากลุ่มเปรียบเทียบในระยะหลังการ ทดลองแต่ไม่ดีกว่าในระยะติดตามผล ส่วนพฤติกรรมการบริโภคอาหารดีกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) พฤติกรรมการออกกำลังกายและการเคลื่อนไหว เจตคติต่อ โรคอ้วน และการลดน้ำหนัก ไม่แตกต่างกันระหว่างก่อนการทดลองและหลังการทดลอง แต่พบว่า ดีกว่ากลุ่ม เปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) การได้รับการสนับสนุนจากเพื่อนในการลด น้ำหนักไม่แตกต่างกันระหว่างก่อนการทดลองและหลังการทดลอง และโปรแกรมสุขศึกษาไม่ สามารถทำให้น้ำหนักตัวลดลงได้ทั้งในระยะหลังการทดลองและระยะติดตามผล
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
วรานันทน์ ดีหอมศีล
สุปรียา ตันสกุล
อาภาพร เผ่าวัฒนา
ธราดล เก่งการพานิช
Waranun Deehomsin
Supreya Tansakul
Arpaporn Powwattana
Tharadol Kengganpanich
format Article
author วรานันทน์ ดีหอมศีล
สุปรียา ตันสกุล
อาภาพร เผ่าวัฒนา
ธราดล เก่งการพานิช
Waranun Deehomsin
Supreya Tansakul
Arpaporn Powwattana
Tharadol Kengganpanich
author_sort วรานันทน์ ดีหอมศีล
title ประสิทธิผลของโปรแกรมสุขศึกษาในการลดน้ำหนักนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น ที่มีภาวะอ้วน ในจังหวัดสมุทรปราการ
title_short ประสิทธิผลของโปรแกรมสุขศึกษาในการลดน้ำหนักนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น ที่มีภาวะอ้วน ในจังหวัดสมุทรปราการ
title_full ประสิทธิผลของโปรแกรมสุขศึกษาในการลดน้ำหนักนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น ที่มีภาวะอ้วน ในจังหวัดสมุทรปราการ
title_fullStr ประสิทธิผลของโปรแกรมสุขศึกษาในการลดน้ำหนักนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น ที่มีภาวะอ้วน ในจังหวัดสมุทรปราการ
title_full_unstemmed ประสิทธิผลของโปรแกรมสุขศึกษาในการลดน้ำหนักนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น ที่มีภาวะอ้วน ในจังหวัดสมุทรปราการ
title_sort ประสิทธิผลของโปรแกรมสุขศึกษาในการลดน้ำหนักนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น ที่มีภาวะอ้วน ในจังหวัดสมุทรปราการ
publishDate 2021
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/63205
_version_ 1763490982873006080