การรับรู้ความสามารถตนเองและการสนับสนุนทางสังคมกับการดูแลตนเองของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงจังหวัดสระแก้ว

การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ เพื่อศึกษาพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง และปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จังหวัดสระแก้ว กลุ่มตัวอย่าง คือผู้ป่วยความดันโลหิตสูง สุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอนได้กลุ่มตัวอย่าง 291 คน รวบรวมข้อมูลโดยใช้ แบบสัมภาษ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: พรพิมล ว่องไว, นิรัตน์ อิมามี, มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์, มันทนา ประทีปะเสน, Pornpimon Wongwai, Nirat Imamee, Manirat Therawiwat, Mandhana Pradipasa
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2021
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/63214
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.63214
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic การรับรู้ความสามารถในการดูแลตนเอง
การสนับสนุนทางสังคม
ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง
Thai Journal of Health Education
spellingShingle การรับรู้ความสามารถในการดูแลตนเอง
การสนับสนุนทางสังคม
ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง
Thai Journal of Health Education
พรพิมล ว่องไว
นิรัตน์ อิมามี
มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์
มันทนา ประทีปะเสน
Pornpimon Wongwai
Nirat Imamee
Manirat Therawiwat
Mandhana Pradipasa
การรับรู้ความสามารถตนเองและการสนับสนุนทางสังคมกับการดูแลตนเองของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงจังหวัดสระแก้ว
description การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ เพื่อศึกษาพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง และปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จังหวัดสระแก้ว กลุ่มตัวอย่าง คือผู้ป่วยความดันโลหิตสูง สุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอนได้กลุ่มตัวอย่าง 291 คน รวบรวมข้อมูลโดยใช้ แบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ไค-สแควร์ และ สัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีพฤติกรรมการดูแลตนเองในระดับปานกลางร้อยละ 76.0 ผลการทดสอบความสัมพันธ์ พบความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติดังนี้ ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ สถานภาพสมรส และระยะเวลาที่ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูงมีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการดูแล ตนเองด้านการรับประทานอาหาร (p=0.008, 0.005 และ 0.023 ตามลำดับ) ระดับการศึกษา และค่าดัชนี มวลกายมีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการดูแลตนเองด้านการผ่อนคลายความเครียด (p = 0.024 และ 0.010) อายุมีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการดูแล ตนเองด้านการรับประทานยา (p = 0.032) ความรู้ เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง มีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการดูแลตนเองด้านการรับประทานอาหาร การผ่อนคลายความเครียด และการรับประทานยา (p = 0.024 r = 0.132, p < 0.001 r = 0.203 และ p = 0.008 r = 0.154 ตามลำดับ) การรับรู้ความสามารถในการดูแลตนเองมีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการดูแล ตนเองด้านการรับประทานอาหาร และการออกกำลังกาย (p < 0.001 r = 0.226 และ p < 0.001 r = 0.222) แรงสนับสนุนทางสังคมจากบุคคลในครอบครัวมีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการดูแลตนเองด้าน การรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย และการผ่อนคลายความเครียด (p = 0.023 r = 0.134, p = 0.035 r = 0.124 และ p < 0.001 r = 0.289 ตามลำดับ) และแรงสนับสนุนทางสังคมจากเพื่อนหรือเพื่อนบ้าน เจ้าหน้าที่ สาธารณสุขในพื้นที่ พยาบาล แพทย์หรือเจ้าหน้าที่ที่ให้บริการที่โรงพยาบาลมีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรม การดูแลตนเองด้านการผ่อนคลายความเครียด (p < 0.001 r = 0.255, p < 0.001 r = 0.204 และ p < 0.001 r = 0.209 ตามลำดับ)
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
พรพิมล ว่องไว
นิรัตน์ อิมามี
มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์
มันทนา ประทีปะเสน
Pornpimon Wongwai
Nirat Imamee
Manirat Therawiwat
Mandhana Pradipasa
format Article
author พรพิมล ว่องไว
นิรัตน์ อิมามี
มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์
มันทนา ประทีปะเสน
Pornpimon Wongwai
Nirat Imamee
Manirat Therawiwat
Mandhana Pradipasa
author_sort พรพิมล ว่องไว
title การรับรู้ความสามารถตนเองและการสนับสนุนทางสังคมกับการดูแลตนเองของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงจังหวัดสระแก้ว
title_short การรับรู้ความสามารถตนเองและการสนับสนุนทางสังคมกับการดูแลตนเองของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงจังหวัดสระแก้ว
title_full การรับรู้ความสามารถตนเองและการสนับสนุนทางสังคมกับการดูแลตนเองของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงจังหวัดสระแก้ว
title_fullStr การรับรู้ความสามารถตนเองและการสนับสนุนทางสังคมกับการดูแลตนเองของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงจังหวัดสระแก้ว
title_full_unstemmed การรับรู้ความสามารถตนเองและการสนับสนุนทางสังคมกับการดูแลตนเองของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงจังหวัดสระแก้ว
title_sort การรับรู้ความสามารถตนเองและการสนับสนุนทางสังคมกับการดูแลตนเองของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงจังหวัดสระแก้ว
publishDate 2021
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/63214
_version_ 1764209912066342912
spelling th-mahidol.632142023-03-31T10:26:00Z การรับรู้ความสามารถตนเองและการสนับสนุนทางสังคมกับการดูแลตนเองของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงจังหวัดสระแก้ว Perceived Self-Efficacy and Social Support on Self-Care Behaviors of Hypertensive Patients, Srakaew Province พรพิมล ว่องไว นิรัตน์ อิมามี มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์ มันทนา ประทีปะเสน Pornpimon Wongwai Nirat Imamee Manirat Therawiwat Mandhana Pradipasa มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาโภชนวิทยา การรับรู้ความสามารถในการดูแลตนเอง การสนับสนุนทางสังคม ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง Thai Journal of Health Education การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ เพื่อศึกษาพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง และปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จังหวัดสระแก้ว กลุ่มตัวอย่าง คือผู้ป่วยความดันโลหิตสูง สุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอนได้กลุ่มตัวอย่าง 291 คน รวบรวมข้อมูลโดยใช้ แบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ไค-สแควร์ และ สัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีพฤติกรรมการดูแลตนเองในระดับปานกลางร้อยละ 76.0 ผลการทดสอบความสัมพันธ์ พบความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติดังนี้ ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ สถานภาพสมรส และระยะเวลาที่ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูงมีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการดูแล ตนเองด้านการรับประทานอาหาร (p=0.008, 0.005 และ 0.023 ตามลำดับ) ระดับการศึกษา และค่าดัชนี มวลกายมีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการดูแลตนเองด้านการผ่อนคลายความเครียด (p = 0.024 และ 0.010) อายุมีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการดูแล ตนเองด้านการรับประทานยา (p = 0.032) ความรู้ เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง มีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการดูแลตนเองด้านการรับประทานอาหาร การผ่อนคลายความเครียด และการรับประทานยา (p = 0.024 r = 0.132, p < 0.001 r = 0.203 และ p = 0.008 r = 0.154 ตามลำดับ) การรับรู้ความสามารถในการดูแลตนเองมีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการดูแล ตนเองด้านการรับประทานอาหาร และการออกกำลังกาย (p < 0.001 r = 0.226 และ p < 0.001 r = 0.222) แรงสนับสนุนทางสังคมจากบุคคลในครอบครัวมีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการดูแลตนเองด้าน การรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย และการผ่อนคลายความเครียด (p = 0.023 r = 0.134, p = 0.035 r = 0.124 และ p < 0.001 r = 0.289 ตามลำดับ) และแรงสนับสนุนทางสังคมจากเพื่อนหรือเพื่อนบ้าน เจ้าหน้าที่ สาธารณสุขในพื้นที่ พยาบาล แพทย์หรือเจ้าหน้าที่ที่ให้บริการที่โรงพยาบาลมีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรม การดูแลตนเองด้านการผ่อนคลายความเครียด (p < 0.001 r = 0.255, p < 0.001 r = 0.204 และ p < 0.001 r = 0.209 ตามลำดับ) This survey research aimed at assessing self-care behaviors of hypertensive patients and the factors related to their self-care behaviors in Srakaew Province, Thailand. A sample of 291 hypertensive patients was selected using two-stages random sampling methods, and data collection was done by using an interview schedule. Data analysis was done by using statistics in regard to percentages, arithmetic means, standard deviations, Pearson Product Moment Chi-square tests, and Correlation Coefficients. The results of the research showed that most of the sample had a “moderate” level of self-care behaviors (76.0%). The following significant relationships were found: personal characteristics in regard to sex, marital status, and duration of time being sick with hypertension had positive correlations with self-care behavior in regard to food consumption (p=.008, .005, and .023 respectively). In addition educational level and Body Mass Index had a positive relationship with self-care behavior in regard to stress relaxation (p=.024 and .010); age correlated positively with self-care behavior in regard to medicine taking (p=.032); knowledge about hypertension correlated positively with self-care behavior in regard to food consumption, stress relaxation, and medicine taking (r=.132, p=.024; r=.203, p<.001; r=.154, p=.008 respectively); perceived self-efficacy had a positive relationship with self-care behavior in regard to food consumption and exercise (r=.226, p<.001 and r=.222, p<.001); social support from family members had a positive relationship with self-care behavior in regard to food consumption, exercise, and stress relaxation (r=.134, p=.023; r=.124, p=.035 and r=.289, p<.001 respectively); and social support from friends or neighbors, local public health personnel, nurses, physicians or hospital personnel had a positive relationship with self-care behavior in regard to stress relocation (r=.255, p<.001; r=.204 p<.001 and r=.209, p<.001 respectively). 2021-08-23T03:27:42Z 2021-08-23T03:27:42Z 2564-08-23 2554 Research Article วารสารสุขศึกษา. ปีที่ 34, ฉบับที่ 117 (ม.ค.- เม.ย. 2554), 69-81 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/63214 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf