การประเมินความเสี่ยงด้านการยศาสตร์ของบุคลากรคณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล ด้วยค่าดัชนีความผิดปกติ AI
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินระดับความเสี่ยงด้านการยศาสตร์ของบุคลากรคณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล ปี พ.ศ. 2560 จากข้อมูลทุติยภูมิแบบประเมินค่าดัชนีความผิดปกติ AI จําาแนกปัจจัยเสี่ยง และลักษณะท่าทางการทําางานที่มีความเสี่ยงการยศาสตร์ จําานวน 517 คน พบบุคลากรกลุ่มเสี่ยงทางการยศาสตร์มีคว...
Saved in:
Main Authors: | , , , , , , , , , , , , , , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Original Article |
Language: | Thai |
Published: |
2021
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/63657 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
Summary: | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินระดับความเสี่ยงด้านการยศาสตร์ของบุคลากรคณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล ปี พ.ศ. 2560 จากข้อมูลทุติยภูมิแบบประเมินค่าดัชนีความผิดปกติ AI จําาแนกปัจจัยเสี่ยง และลักษณะท่าทางการทําางานที่มีความเสี่ยงการยศาสตร์ จําานวน 517 คน พบบุคลากรกลุ่มเสี่ยงทางการยศาสตร์มีความชุกร้อยละ 10.8 ในระดับมีความเสี่ยงสูงและมีความเสี่ยงสูงต้องแก้ไขทันที และมีค่าเฉลี่ยดัชนีความผิดปกติ AI ที่ 3.3±0.2 และ 4.8±0.1 ตามลําาดับ โดยพบบุคลากรกลุ่มเสี่ยงทางการยศาสตร์ในกลุ่มวิชาชีพเฉพาะ ร้อยละ 19.0 กลุ่มสายวิชาการและบริหาร ร้อยละ 12.0 กลุ่มสนับสนุนวิชาการ ร้อยละ 4.5 กลุ่มสนับสนุนทั่วไประดับปฏิบัติการและระดับช่วยปฏิบัติการ ร้อยละ 6.2 และ 6.4 ตามลําาดับ (p<0.001) โดยปัจจัยเพศ (p=0.046) และค่าดัชนีมวลกาย (p<0.001) มีความสัมพันธ์กับบุคลากรในกลุ่มเสี่ยงทางการยศาสตร์ บุคลากรกลุ่มเสี่ยง ได้แก่ กลุ่มวิชาชีพเฉพาะ มีอิริยาบถนั่ง ยืน เคลื่อนไหวด้วยท่าซ้ําา ๆ และใช้กําาลังเกินตัว กลุ่มนักวิชาการและอาจารย์ ที่มีอิริยาบถนั่งทําางานอยู่กับที่ ใช้สายตาและความคิด และกลุ่มสายสนับสนุนช่วยปฏิบัติการ มีอิริยาบถเคลื่อนไหวและใช้กําาลังด้วยท่าทางไม่เหมาะสม เสี่ยงต่อการบาดเจ็บและเกิดอุบัติเห |
---|