ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้เกี่ยวกับโรคกระดูกพรุน ความเสี่ยงในการหกล้ม และพฤติกรรมป้องกันการหกล้มในสตรีสูงอายุกลุ่มเสี่ยงโรคกระดูกพรุน

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้เกี่ยวกับโรคกระดูกพรุน ความเสี่ยงต่อการหกล้มและพฤติกรรมป้องกัน การหกล้มในสตรีสูงอายุกลุ่มเสี่ยงโรคกระดูกพรุน กลุ่มตัวอย่าง สตรีอายุ 60 ปีขึ้นไปในจังหวัดอุบลราชธานี ที่มีความเสี่ยงโรคกระดูกพรุน จำนวน 110 ราย คัดเลือกโดยการสุ่มแบ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ยุวดี พิบูลลีตระกูล, สุภาพ อารีเอื้อ, กมลรัตน์ กิตติพิมพานนท์, Yuwadee Phiboonleetrakul, Suparb Aree-Ue, Kamonrat Kittipimpanon
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี
Format: Original Article
Language:Thai
Published: 2021
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/63664
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.63664
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic โรคกระดูกพรุน
ความเสี่ยงการหกล้ม
พฤติกรรมป้องกันการหกล้ม
สตรีสูงอายุ
Osteoporosis
Risk of falls
Fall prevention behavior
Older females
spellingShingle โรคกระดูกพรุน
ความเสี่ยงการหกล้ม
พฤติกรรมป้องกันการหกล้ม
สตรีสูงอายุ
Osteoporosis
Risk of falls
Fall prevention behavior
Older females
ยุวดี พิบูลลีตระกูล
สุภาพ อารีเอื้อ
กมลรัตน์ กิตติพิมพานนท์
Yuwadee Phiboonleetrakul
Suparb Aree-Ue
Kamonrat Kittipimpanon
ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้เกี่ยวกับโรคกระดูกพรุน ความเสี่ยงในการหกล้ม และพฤติกรรมป้องกันการหกล้มในสตรีสูงอายุกลุ่มเสี่ยงโรคกระดูกพรุน
description การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้เกี่ยวกับโรคกระดูกพรุน ความเสี่ยงต่อการหกล้มและพฤติกรรมป้องกัน การหกล้มในสตรีสูงอายุกลุ่มเสี่ยงโรคกระดูกพรุน กลุ่มตัวอย่าง สตรีอายุ 60 ปีขึ้นไปในจังหวัดอุบลราชธานี ที่มีความเสี่ยงโรคกระดูกพรุน จำนวน 110 ราย คัดเลือกโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น ใช้แบบสอบถามข้อมูล ส่วนบุคคล แบบประเมินความรู้เกี่ยวกับโรคกระดูกพรุน แบบประเมินความเสี่ยงการหกล้มและแบบประเมิน พฤตกิ รรมปอ้ งกันการหกล้ม เกบ็ ขอ้ มูลระหวา่ งเดอื น มีนาคม ถึง พฤษภาคม 2562 วิเคราะห์ข้อมูลด้วย โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปด้วยสถิติวิเคราะห์ ความสัมพันธ์สเปียร์แมน กำหนดระดับนัยสำคัญ ทางสถิติที่ p < 0.05 ผลการวิจัยพบว่า สตรีสูงอายุกลุ่มเสี่ยงโรค กระดูกมีระดับความรู้เกี่ยวกับโรคกระดูกพรุนปานกลาง (คะแนนเฉลี่ย ± ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 10.53 ± 2.71) ร้อยละ 50.6 ของกลุ่มตัวอย่างมีความเสี่ยง การหกล้ม (คะแนนเฉลี่ย ± ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 4.58 ± 2.62) และ มีพฤติกรรมป้องกันการหกล้ม ในระดับสูง (คะแนนเฉลี่ย ± ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 87.02 ± 10.39) ความรู้เกี่ยวกับโรคกระดูกพรุน มีความสัมพันธ์ทางลบในระดับต่ำกับความเสี่ยง ในการหกล้มอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = -0.199, p = 0.037) และมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับต่ำ กับพฤติกรรมป้องกันการหกล้มอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ (r = 0.329; p < 0.001) และความเสี่ยง ในการหกล้มมีความสัมพันธ์ทางลบในระดับต่ำกับ พฤติกรรมป้องกันการหกล้มอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (r = -0.162; p = 0.090) ผลการศึกษาครั้งนี้ บุคลากรด้านสุขภาพสามารถ นำผลการวิจัยมาเป็นข้อมูลในการจัดกิจกรรมส่งเสริม สุขภาพเพื่อป้องกันการเกิดการหกล้มในสตรีสูงอายุ กลุ่มเสี่ยงโรคกระดูกพรุน
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี
ยุวดี พิบูลลีตระกูล
สุภาพ อารีเอื้อ
กมลรัตน์ กิตติพิมพานนท์
Yuwadee Phiboonleetrakul
Suparb Aree-Ue
Kamonrat Kittipimpanon
format Original Article
author ยุวดี พิบูลลีตระกูล
สุภาพ อารีเอื้อ
กมลรัตน์ กิตติพิมพานนท์
Yuwadee Phiboonleetrakul
Suparb Aree-Ue
Kamonrat Kittipimpanon
author_sort ยุวดี พิบูลลีตระกูล
title ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้เกี่ยวกับโรคกระดูกพรุน ความเสี่ยงในการหกล้ม และพฤติกรรมป้องกันการหกล้มในสตรีสูงอายุกลุ่มเสี่ยงโรคกระดูกพรุน
title_short ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้เกี่ยวกับโรคกระดูกพรุน ความเสี่ยงในการหกล้ม และพฤติกรรมป้องกันการหกล้มในสตรีสูงอายุกลุ่มเสี่ยงโรคกระดูกพรุน
title_full ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้เกี่ยวกับโรคกระดูกพรุน ความเสี่ยงในการหกล้ม และพฤติกรรมป้องกันการหกล้มในสตรีสูงอายุกลุ่มเสี่ยงโรคกระดูกพรุน
title_fullStr ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้เกี่ยวกับโรคกระดูกพรุน ความเสี่ยงในการหกล้ม และพฤติกรรมป้องกันการหกล้มในสตรีสูงอายุกลุ่มเสี่ยงโรคกระดูกพรุน
title_full_unstemmed ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้เกี่ยวกับโรคกระดูกพรุน ความเสี่ยงในการหกล้ม และพฤติกรรมป้องกันการหกล้มในสตรีสูงอายุกลุ่มเสี่ยงโรคกระดูกพรุน
title_sort ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้เกี่ยวกับโรคกระดูกพรุน ความเสี่ยงในการหกล้ม และพฤติกรรมป้องกันการหกล้มในสตรีสูงอายุกลุ่มเสี่ยงโรคกระดูกพรุน
publishDate 2021
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/63664
_version_ 1763493966954627072
spelling th-mahidol.636642023-03-30T22:43:33Z ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้เกี่ยวกับโรคกระดูกพรุน ความเสี่ยงในการหกล้ม และพฤติกรรมป้องกันการหกล้มในสตรีสูงอายุกลุ่มเสี่ยงโรคกระดูกพรุน Relationships between Osteoporosis Knowledge, Risk of Falls and Fall Prevention Behavior in Older Thai Females at Risk of Osteoporosis ยุวดี พิบูลลีตระกูล สุภาพ อารีเอื้อ กมลรัตน์ กิตติพิมพานนท์ Yuwadee Phiboonleetrakul Suparb Aree-Ue Kamonrat Kittipimpanon มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี โรคกระดูกพรุน ความเสี่ยงการหกล้ม พฤติกรรมป้องกันการหกล้ม สตรีสูงอายุ Osteoporosis Risk of falls Fall prevention behavior Older females การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้เกี่ยวกับโรคกระดูกพรุน ความเสี่ยงต่อการหกล้มและพฤติกรรมป้องกัน การหกล้มในสตรีสูงอายุกลุ่มเสี่ยงโรคกระดูกพรุน กลุ่มตัวอย่าง สตรีอายุ 60 ปีขึ้นไปในจังหวัดอุบลราชธานี ที่มีความเสี่ยงโรคกระดูกพรุน จำนวน 110 ราย คัดเลือกโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น ใช้แบบสอบถามข้อมูล ส่วนบุคคล แบบประเมินความรู้เกี่ยวกับโรคกระดูกพรุน แบบประเมินความเสี่ยงการหกล้มและแบบประเมิน พฤตกิ รรมปอ้ งกันการหกล้ม เกบ็ ขอ้ มูลระหวา่ งเดอื น มีนาคม ถึง พฤษภาคม 2562 วิเคราะห์ข้อมูลด้วย โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปด้วยสถิติวิเคราะห์ ความสัมพันธ์สเปียร์แมน กำหนดระดับนัยสำคัญ ทางสถิติที่ p < 0.05 ผลการวิจัยพบว่า สตรีสูงอายุกลุ่มเสี่ยงโรค กระดูกมีระดับความรู้เกี่ยวกับโรคกระดูกพรุนปานกลาง (คะแนนเฉลี่ย ± ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 10.53 ± 2.71) ร้อยละ 50.6 ของกลุ่มตัวอย่างมีความเสี่ยง การหกล้ม (คะแนนเฉลี่ย ± ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 4.58 ± 2.62) และ มีพฤติกรรมป้องกันการหกล้ม ในระดับสูง (คะแนนเฉลี่ย ± ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 87.02 ± 10.39) ความรู้เกี่ยวกับโรคกระดูกพรุน มีความสัมพันธ์ทางลบในระดับต่ำกับความเสี่ยง ในการหกล้มอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = -0.199, p = 0.037) และมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับต่ำ กับพฤติกรรมป้องกันการหกล้มอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ (r = 0.329; p < 0.001) และความเสี่ยง ในการหกล้มมีความสัมพันธ์ทางลบในระดับต่ำกับ พฤติกรรมป้องกันการหกล้มอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (r = -0.162; p = 0.090) ผลการศึกษาครั้งนี้ บุคลากรด้านสุขภาพสามารถ นำผลการวิจัยมาเป็นข้อมูลในการจัดกิจกรรมส่งเสริม สุขภาพเพื่อป้องกันการเกิดการหกล้มในสตรีสูงอายุ กลุ่มเสี่ยงโรคกระดูกพรุน In an aging society, osteoporosis is a global concern, particularly in females. Osteoporosis not only leads to bone fragility and stress fractures, but also increases the risk of falls and fall-related injuries; these consequences detrimentally affect quality of life in older people. Promoting self-care and improving knowledge of risk factors and preventive behaviors are essential for enhancing quality of life. In community settings, however, insight information on osteoporosis knowledge, fall prevention behaviors and risk of falls are required for providing optimum care. Thus, the present study aimed to determine the relationship between osteoporosis knowledge, risk of falls and fall preventive behavior in older women at risk for osteoporosis. The study was approved by the Research Ethics Committee of the Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University (ref: no. MURA 2019/136). One hundred and ten older women living in Ubon Ratchatani, Thailand, aged 60 years or older who were at risk for osteoporosis were assessed by using the Osteoporosis Self-Assessment Tool for Asians (OSTA). Those who met the inclusion criteria were recruited by stratified random sampling to participate in this study. The data were captured through interviews using structured questionnaires, which included a demographic questionnaire, a quiz related to the facts on osteoporosis, the Thai fall risk assessment test and the falls preventive behaviors questionnaire. Data collection was carried out from March to May 2018 and data were analyzed by using Spearman rank correlation. A p-value <0.05 was considered statistically significant. The results revealed that the participants had a moderate level of osteoporosis knowledge (mean ± SD: 10.53 ± 2.71), 50.6% of the participants had a risk of falls (mean ± SD: 4.58 ± 2.62) and a high level of fall prevention behavior (mean ± SD: 87.02 ± 10.39). There was an inverse correlation between osteoporosis knowledge and risk of falls (r = -0.199, p = 0.037), but a positive correlation was observed between osteoporosis knowledge and fall prevention behavior (r = 0.329; p < 0.001). However, there was no significant correlation between the risk of falls and fall prevention behavior (r = -0.162; p = 0.090). Findings from this study provide valuable information for the healthcare team, which can facilitate an understanding of osteoporosis knowledge, risk of falls and fall prevention behavior among older women at risk of osteoporosis. This substantive information could be integrated to provide specific health promotion interventions for older women who are at risk of osteoporosis. 2021-09-24T09:13:45Z 2021-09-24T09:13:45Z 2564-09-24 2563 Original Article วารสารสาธารณสุขศาสตร์. ปีที่ 50, ฉบับที่ 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2563), 391-406 2697-584X (Print) 2697-5866 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/63664 tha มหาวิทยาลัยมหิดล โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf