คุณภาพการดูแลผู้ป่วยอุบัติเหตุที่หน่วยกู้ชีพ ในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย

อุบัติเหตุ เป็นสาเหตุการตายที่สำาคัญของ ประชากรของประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก ภาวะช็อกจาก การบาดเจ็บเป็นสาเหตุสำาคัญที่ทำาให้ผู้ป่วยเสียชีวิต ที่ห้องฉุกเฉิน การช่วยชีวิตเป็นเป้าหมายของการดูแล ผู้ป่วย การวิจัยเชิงบรรยายนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษา คุณภาพการดูแลผู้ป่วยอุบัติเหตุในมุมมองของพยาบาล วิชาชี...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: พีรญา ไสไหม, ไสว นรสาร, กรองได อุณหสูต, จุรีพร เกษแก้ว, Phiraya Saimai, Savai Norasan, Krongdai Unhasuta, Chureeporn Keskaew
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ฝ่ายการพยาบาล
Format: Original Article
Language:Thai
Published: 2021
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/63758
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.63758
record_format dspace
spelling th-mahidol.637582023-03-31T02:19:19Z คุณภาพการดูแลผู้ป่วยอุบัติเหตุที่หน่วยกู้ชีพ ในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย Quality Care of Trauma Patients at Resuscitation Unit in the University Hospital พีรญา ไสไหม ไสว นรสาร กรองได อุณหสูต จุรีพร เกษแก้ว Phiraya Saimai Savai Norasan Krongdai Unhasuta Chureeporn Keskaew มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ฝ่ายการพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี การจัดการดูแลผู้ป่วยอุบัติเหตุ การสืบค้นภาวะช็อกจากการบาดเจ็บ ผลลัพธ์ด้านผู้ป่วย พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหน่วยกู้ชีพ system of care detection of traumatic shock patient outcome registered nurse in resuscitation unit อุบัติเหตุ เป็นสาเหตุการตายที่สำาคัญของ ประชากรของประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก ภาวะช็อกจาก การบาดเจ็บเป็นสาเหตุสำาคัญที่ทำาให้ผู้ป่วยเสียชีวิต ที่ห้องฉุกเฉิน การช่วยชีวิตเป็นเป้าหมายของการดูแล ผู้ป่วย การวิจัยเชิงบรรยายนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษา คุณภาพการดูแลผู้ป่วยอุบัติเหตุในมุมมองของพยาบาล วิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหน่วยกู้ชีพ และผลลัพธ์ด้าน ผู้ป่วยจากผลการตอบสนองของร่างกาย ภายหลังได้รับ การดูแลที่หน่วยกู้ชีพ กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลวิชาชีพ ที่ปฏิบัติงานในหน่วยกู้ชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย แห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร จำานวน 24 คน และ เวชระเบียนผู้ป่วยอุบัติเหตุ จำานวน 47 เล่ม เก็บข้อมูล โดยใช้แบบประเมินการจัดการดูแลผู้ป่วยอุบัติเหตุ ที่ห้องฉุกเฉิน และแบบประเมินภาวะช็อกจากการ บาดเจ็บ ซึ่งพัฒนาโดย กรองได อุณหสูต และเครือข่าย พยาบาลอุบัติเหตุแห่งประเทศไทย1 วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติ ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า การจัดการดูแลผู้ป่วย อุบัติเหตุและการสืบค้นภาวะช็อกจากการบาดเจ็บ มีค่าคะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับดีมาก (mean = 3.47, SD = 0.25; mean = 3.44, SD = 0.27 ตามลำดับ) ผลลัพธ์ด้านผู้ป่วย พบว่า ส่วนใหญ่มีอาการไม่เปลี่ยนแปลง (ร้อยละ 68.1) รองลงมา ได้แก่ อาการดีขึ้น และ อาการเลวลง (ร้อยละ 17.0, 14.9 ตามลำดับ) จาก ผลการศึกษา ผู้บริหารทางการพยาบาลสามารถใช้ เป็นข้อมูลพื้นฐาน เพื่อเพิ่มคุณภาพการรายงานผล การดูแลผู้ป่วยอุบัติเหตุ Trauma is a leading cause of mortality globally. Traumatic shock is a signifi cant cause of mortality in injured patients in the emergency room. Saving life is the goal of major trauma patient care. The purpose of this descriptive research is to study quality care of the trauma patient in view of nurses and study patient outcome from the body’s response after receiving the care at Resuscitation unit. The sample consisted of 24 nurses, who work at Resuscitation unit in the university hospital, Bangkok, and 47 traumatic patient records. The instrument used in this study was Trauma Care Management in ER Assessment and Traumatic shock Assessment, develop by Krongdai Unhasuta and Thai Trauma Nurse Network,14 was used to collect the data. The data were analyzed in terms of frequency, mean, percentage, Standard deviation. The results revealed that the mean scores for system care of injured patient and detection of traumatic shock were a very good level (mean = 3.47, SD = 0.25; mean = 3.44, SD = 0.27, respectively). Most of the patient outcome is the same (68.1%). Follow by the better and the worse (17.0%, 14.9%, respectively). This fi nding could be used as basic data for nursing administrators to improve the quality of patient care report. 2021-09-30T09:29:28Z 2021-09-30T09:29:28Z 2564-09-30 2559 Original Article วารสารสาธารณสุขศาสตร์. ปีที่ 46, ฉบับที่ 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2559), 223-235 2697-584X (Print) 2697-5866 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/63758 tha มหาวิทยาลัยมหิดล ฝ่ายการพยาบาล คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic การจัดการดูแลผู้ป่วยอุบัติเหตุ
การสืบค้นภาวะช็อกจากการบาดเจ็บ
ผลลัพธ์ด้านผู้ป่วย
พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหน่วยกู้ชีพ
system of care
detection of traumatic shock
patient outcome registered nurse in resuscitation unit
spellingShingle การจัดการดูแลผู้ป่วยอุบัติเหตุ
การสืบค้นภาวะช็อกจากการบาดเจ็บ
ผลลัพธ์ด้านผู้ป่วย
พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหน่วยกู้ชีพ
system of care
detection of traumatic shock
patient outcome registered nurse in resuscitation unit
พีรญา ไสไหม
ไสว นรสาร
กรองได อุณหสูต
จุรีพร เกษแก้ว
Phiraya Saimai
Savai Norasan
Krongdai Unhasuta
Chureeporn Keskaew
คุณภาพการดูแลผู้ป่วยอุบัติเหตุที่หน่วยกู้ชีพ ในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย
description อุบัติเหตุ เป็นสาเหตุการตายที่สำาคัญของ ประชากรของประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก ภาวะช็อกจาก การบาดเจ็บเป็นสาเหตุสำาคัญที่ทำาให้ผู้ป่วยเสียชีวิต ที่ห้องฉุกเฉิน การช่วยชีวิตเป็นเป้าหมายของการดูแล ผู้ป่วย การวิจัยเชิงบรรยายนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษา คุณภาพการดูแลผู้ป่วยอุบัติเหตุในมุมมองของพยาบาล วิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหน่วยกู้ชีพ และผลลัพธ์ด้าน ผู้ป่วยจากผลการตอบสนองของร่างกาย ภายหลังได้รับ การดูแลที่หน่วยกู้ชีพ กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลวิชาชีพ ที่ปฏิบัติงานในหน่วยกู้ชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย แห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร จำานวน 24 คน และ เวชระเบียนผู้ป่วยอุบัติเหตุ จำานวน 47 เล่ม เก็บข้อมูล โดยใช้แบบประเมินการจัดการดูแลผู้ป่วยอุบัติเหตุ ที่ห้องฉุกเฉิน และแบบประเมินภาวะช็อกจากการ บาดเจ็บ ซึ่งพัฒนาโดย กรองได อุณหสูต และเครือข่าย พยาบาลอุบัติเหตุแห่งประเทศไทย1 วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติ ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า การจัดการดูแลผู้ป่วย อุบัติเหตุและการสืบค้นภาวะช็อกจากการบาดเจ็บ มีค่าคะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับดีมาก (mean = 3.47, SD = 0.25; mean = 3.44, SD = 0.27 ตามลำดับ) ผลลัพธ์ด้านผู้ป่วย พบว่า ส่วนใหญ่มีอาการไม่เปลี่ยนแปลง (ร้อยละ 68.1) รองลงมา ได้แก่ อาการดีขึ้น และ อาการเลวลง (ร้อยละ 17.0, 14.9 ตามลำดับ) จาก ผลการศึกษา ผู้บริหารทางการพยาบาลสามารถใช้ เป็นข้อมูลพื้นฐาน เพื่อเพิ่มคุณภาพการรายงานผล การดูแลผู้ป่วยอุบัติเหตุ
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ฝ่ายการพยาบาล
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ฝ่ายการพยาบาล
พีรญา ไสไหม
ไสว นรสาร
กรองได อุณหสูต
จุรีพร เกษแก้ว
Phiraya Saimai
Savai Norasan
Krongdai Unhasuta
Chureeporn Keskaew
format Original Article
author พีรญา ไสไหม
ไสว นรสาร
กรองได อุณหสูต
จุรีพร เกษแก้ว
Phiraya Saimai
Savai Norasan
Krongdai Unhasuta
Chureeporn Keskaew
author_sort พีรญา ไสไหม
title คุณภาพการดูแลผู้ป่วยอุบัติเหตุที่หน่วยกู้ชีพ ในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย
title_short คุณภาพการดูแลผู้ป่วยอุบัติเหตุที่หน่วยกู้ชีพ ในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย
title_full คุณภาพการดูแลผู้ป่วยอุบัติเหตุที่หน่วยกู้ชีพ ในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย
title_fullStr คุณภาพการดูแลผู้ป่วยอุบัติเหตุที่หน่วยกู้ชีพ ในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย
title_full_unstemmed คุณภาพการดูแลผู้ป่วยอุบัติเหตุที่หน่วยกู้ชีพ ในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย
title_sort คุณภาพการดูแลผู้ป่วยอุบัติเหตุที่หน่วยกู้ชีพ ในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย
publishDate 2021
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/63758
_version_ 1763489152575209472