ปัจจัยที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนในหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาและหลักสูตรหลังปริญญาภาควิชาทันตกรรมหัตถการและวิทยาเอ็นโดดอนต์คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบปัจจัยที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนในหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาและหลักสูตรหลังปริญญา ภาควิชาทันตกรรมหัตถการและวิทยาเอ็นโดดอนต์ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ นักศึกษาหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาและหลักสูตรหลังปริ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ศิริลักษณ์ ชนะพันชัย, กาญจนา เหล่ารอด, สกาวทิพย์ สหทรัพย์เจริญ, Sirilug Chanapanchai, Kanchana Lao-rod, Skawtip Sahasupcharoen
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะทันตแพทยศาสตร์. ภาควิชาทันตกรรมหัตถการและวิทยาเอ็นโดดอนต์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2022
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/63957
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.63957
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic ผลสัมฤทธิ์ของการเรียน
ปัจจัย
หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา
หลักสูตรหลังปริญญา
Journal of Professional Routine to Research
spellingShingle ผลสัมฤทธิ์ของการเรียน
ปัจจัย
หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา
หลักสูตรหลังปริญญา
Journal of Professional Routine to Research
ศิริลักษณ์ ชนะพันชัย
กาญจนา เหล่ารอด
สกาวทิพย์ สหทรัพย์เจริญ
Sirilug Chanapanchai
Kanchana Lao-rod
Skawtip Sahasupcharoen
ปัจจัยที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนในหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาและหลักสูตรหลังปริญญาภาควิชาทันตกรรมหัตถการและวิทยาเอ็นโดดอนต์คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
description การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบปัจจัยที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนในหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาและหลักสูตรหลังปริญญา ภาควิชาทันตกรรมหัตถการและวิทยาเอ็นโดดอนต์ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ นักศึกษาหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาและหลักสูตรหลังปริญญา ปีการศึกษา 2562 จำนวนทั้งสิ้น 62 คน ตัวอย่างขนาด 57 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเป็นแบบสอบถามที่ผ่านการตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) จากผู้เชี่ยวชาญจำนวน 3 ท่าน ซึ่งได้ค่า IOC อยู่ระหว่าง 0.67–1.00 และผ่านการทดลองใช้กับนักศึกษาทันตแพทยศาสตร์ชั้นปี 6 จำนวน 10 คน ที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่างเพื่อตรวจสอบความเชื่อถือได้ (Reliability) โดยได้ค่าความเชื่อถือได้ของแบบสอบถามเท่ากับ 0.96 ผู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบที (T-test) การทดสอบเอฟ (F-test) และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One–way ANOVA) ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยด้านหลักสูตร ด้านอาจารย์ ด้านการจัดการเรียนการสอน ด้านการสำเร็จของนักศึกษา และด้านสื่อ/อุปกรณ์การเรียนการสอน มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนในหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาและหลักสูตรหลังปริญญาอยู่ในระดับมาก โดยด้านหลักสูตร ด้านอาจารย์ และด้านการจัดการเรียนการสอนอยู่ในระดับมากที่สุด ส่วนด้านการสำเร็จของนักศึกษา และด้านสื่อ/อุปกรณ์การเรียนการสอนมีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนในหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาและหลักสูตรหลังปริญญาอยู่ในระดับมาก ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า เพศมีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนในหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาและหลักสูตรหลังปริญญาแตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 (p<0.05) ส่วนอายุ สาขาที่ศึกษาต่อ หลักสูตรที่ศึกษาต่อ สังกัดในการทำงานปัจจุบัน และประสบการณ์ในการทำงาน มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนในหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาและหลักสูตรหลังปริญญาไม่แตกต่างกัน ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 (p>0.05)
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะทันตแพทยศาสตร์. ภาควิชาทันตกรรมหัตถการและวิทยาเอ็นโดดอนต์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะทันตแพทยศาสตร์. ภาควิชาทันตกรรมหัตถการและวิทยาเอ็นโดดอนต์
ศิริลักษณ์ ชนะพันชัย
กาญจนา เหล่ารอด
สกาวทิพย์ สหทรัพย์เจริญ
Sirilug Chanapanchai
Kanchana Lao-rod
Skawtip Sahasupcharoen
format Article
author ศิริลักษณ์ ชนะพันชัย
กาญจนา เหล่ารอด
สกาวทิพย์ สหทรัพย์เจริญ
Sirilug Chanapanchai
Kanchana Lao-rod
Skawtip Sahasupcharoen
author_sort ศิริลักษณ์ ชนะพันชัย
title ปัจจัยที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนในหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาและหลักสูตรหลังปริญญาภาควิชาทันตกรรมหัตถการและวิทยาเอ็นโดดอนต์คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
title_short ปัจจัยที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนในหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาและหลักสูตรหลังปริญญาภาควิชาทันตกรรมหัตถการและวิทยาเอ็นโดดอนต์คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
title_full ปัจจัยที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนในหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาและหลักสูตรหลังปริญญาภาควิชาทันตกรรมหัตถการและวิทยาเอ็นโดดอนต์คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
title_fullStr ปัจจัยที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนในหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาและหลักสูตรหลังปริญญาภาควิชาทันตกรรมหัตถการและวิทยาเอ็นโดดอนต์คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
title_full_unstemmed ปัจจัยที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนในหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาและหลักสูตรหลังปริญญาภาควิชาทันตกรรมหัตถการและวิทยาเอ็นโดดอนต์คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
title_sort ปัจจัยที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนในหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาและหลักสูตรหลังปริญญาภาควิชาทันตกรรมหัตถการและวิทยาเอ็นโดดอนต์คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
publishDate 2022
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/63957
_version_ 1763491766337536000
spelling th-mahidol.639572023-03-30T13:31:02Z ปัจจัยที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนในหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาและหลักสูตรหลังปริญญาภาควิชาทันตกรรมหัตถการและวิทยาเอ็นโดดอนต์คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล Factors Affecting the Academic Achievement in Graduate degree programs and Postgraduate Courses from the Department of Operative Dentistry and Endodontics Faculty of Dentistry, Mahidol University ศิริลักษณ์ ชนะพันชัย กาญจนา เหล่ารอด สกาวทิพย์ สหทรัพย์เจริญ Sirilug Chanapanchai Kanchana Lao-rod Skawtip Sahasupcharoen มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะทันตแพทยศาสตร์. ภาควิชาทันตกรรมหัตถการและวิทยาเอ็นโดดอนต์ ผลสัมฤทธิ์ของการเรียน ปัจจัย หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา หลักสูตรหลังปริญญา Journal of Professional Routine to Research การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบปัจจัยที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนในหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาและหลักสูตรหลังปริญญา ภาควิชาทันตกรรมหัตถการและวิทยาเอ็นโดดอนต์ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ นักศึกษาหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาและหลักสูตรหลังปริญญา ปีการศึกษา 2562 จำนวนทั้งสิ้น 62 คน ตัวอย่างขนาด 57 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเป็นแบบสอบถามที่ผ่านการตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) จากผู้เชี่ยวชาญจำนวน 3 ท่าน ซึ่งได้ค่า IOC อยู่ระหว่าง 0.67–1.00 และผ่านการทดลองใช้กับนักศึกษาทันตแพทยศาสตร์ชั้นปี 6 จำนวน 10 คน ที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่างเพื่อตรวจสอบความเชื่อถือได้ (Reliability) โดยได้ค่าความเชื่อถือได้ของแบบสอบถามเท่ากับ 0.96 ผู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบที (T-test) การทดสอบเอฟ (F-test) และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One–way ANOVA) ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยด้านหลักสูตร ด้านอาจารย์ ด้านการจัดการเรียนการสอน ด้านการสำเร็จของนักศึกษา และด้านสื่อ/อุปกรณ์การเรียนการสอน มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนในหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาและหลักสูตรหลังปริญญาอยู่ในระดับมาก โดยด้านหลักสูตร ด้านอาจารย์ และด้านการจัดการเรียนการสอนอยู่ในระดับมากที่สุด ส่วนด้านการสำเร็จของนักศึกษา และด้านสื่อ/อุปกรณ์การเรียนการสอนมีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนในหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาและหลักสูตรหลังปริญญาอยู่ในระดับมาก ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า เพศมีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนในหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาและหลักสูตรหลังปริญญาแตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 (p<0.05) ส่วนอายุ สาขาที่ศึกษาต่อ หลักสูตรที่ศึกษาต่อ สังกัดในการทำงานปัจจุบัน และประสบการณ์ในการทำงาน มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนในหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาและหลักสูตรหลังปริญญาไม่แตกต่างกัน ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 (p>0.05) This examination of academic achievement has become an important instrument for studying and comparing the effectiveness of educational structures in graduate degree programs and postgraduate courses in the Department of Operative Dentistry and Endodontics, Faculty of Dentistry, Mahidol University. The data of this study came from a total of 62 graduate and postgraduate students from the academic year 2019; the sample size was 57 students. The data were collected in the form of a questionnaire following a content validity check from three experts. IOC values ranged from 0.67–1.00 and passed an experiment with 10 sixth year dental students that were a non-sample group to check for reliability. The confidence of the questionnaire was 0.96. The analyses used descriptive statistics such as percentage, mean and standard deviation, T-test, F-test, and one-way ANOVA at a significance level of 0.05. The analyses showed that there was a high level of influence on academic achievement among the students in both graduate programs and postgraduate courses based on factors such as curriculum, teachers, teaching and learning management, study success, and teaching media and equipment. Curriculum, teachers, and teaching and learning management had the highest level of influence, while study success, and teaching media and equipment had a high level of influence on academic achievement in graduate programs and postgraduate courses. The hypothesis analysis found that gender has an influence on the academic achievement in graduate programs and postgraduate courses at a significant level (p<0.05). For student age, major, curriculum, current affiliation, and work experience, there was no difference in academic achievement in graduate programs and postgraduate courses at the 0.05 level of significance (p>0.05). 2022-01-01T19:38:56Z 2022-01-01T19:38:56Z 2565-01-02 2564 Research Article วารสารการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย. ปีที่ 8, ฉบับที่ 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2564), 53-64 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/63957 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf