ผลของโปรแกรมฝึกทักษะการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ต่อประสิทธิภาพการรับรู้สมรรถนะของตนเอง และอัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวของมารดาวัยรุ่นที่มีบุตรคนแรก

วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมฝึกทักษะการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ต่อประสิทธิภาพของการให้นมแม่ก่อนจำหน่าย การรับรู้สมรรถนะของตนเอง และอัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 1 เดือนของมารดาวัยรุ่นที่มีบุตรคนแรก รูปแบบการวิจัย: การวิจัยกึ่งทดลองแบบ 2 กลุ่มวัดก่อนและหลังการทดลอง วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: อัญชนา ปันอินแปง, วรรณา พาหุวัฒนกร, ปิยะนันท์ ลิมเรืองรอง, Anchana Paninpang, Wanna Phahuwatanakorn, Piyanun Limruangrong
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2022
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/64405
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.64405
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic วัยรุ่น
การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
ประสิทธิผล
โปรแกรม
การฝึกทักษะ
adolescent
breastfeeding
efficiency
self-efficacy
วารสารพยาบาลศาสตร์
Nursing Science Journal of Thailand
Journal of Nursing Science
spellingShingle วัยรุ่น
การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
ประสิทธิผล
โปรแกรม
การฝึกทักษะ
adolescent
breastfeeding
efficiency
self-efficacy
วารสารพยาบาลศาสตร์
Nursing Science Journal of Thailand
Journal of Nursing Science
อัญชนา ปันอินแปง
วรรณา พาหุวัฒนกร
ปิยะนันท์ ลิมเรืองรอง
Anchana Paninpang
Wanna Phahuwatanakorn
Piyanun Limruangrong
ผลของโปรแกรมฝึกทักษะการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ต่อประสิทธิภาพการรับรู้สมรรถนะของตนเอง และอัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวของมารดาวัยรุ่นที่มีบุตรคนแรก
description วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมฝึกทักษะการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ต่อประสิทธิภาพของการให้นมแม่ก่อนจำหน่าย การรับรู้สมรรถนะของตนเอง และอัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 1 เดือนของมารดาวัยรุ่นที่มีบุตรคนแรก รูปแบบการวิจัย: การวิจัยกึ่งทดลองแบบ 2 กลุ่มวัดก่อนและหลังการทดลอง วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นมารดาวัยรุ่นอายุ 15-19 ปี คลอดปกติบุตรคนแรก ณ หน่วยหลังคลอด โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ จำนวน 50 ราย เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบสะดวก แบ่งเป็นกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองกลุ่มละ 25 ราย กลุ่มควบคุมได้รับการดูแลตามปกติและกลุ่มทดลองได้รับการดูแลตามปกติร่วมกับโปรแกรมฝึกทักษะการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ได้แก่ การสังเกต ฝึกปฏิบัติ และวิธีประเมินตนเองในการให้นมแม่ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามการรับรู้สมรรถนะ แห่งตนในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ แบบประเมินประสิทธิภาพให้นมแม่และการดูดนมของทารก และแบบสัมภาษณ์การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ วิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และเปรียบเทียบข้อมูลระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมโดยใช้สถิติ Independent t-test, Mann-Whitney U test, Chi-square, Fisher’s exact test และสถิติ Z test ผลการวิจัย: กลุ่มทดลองมีคะแนนประสิทธิภาพการให้นมแม่ก่อนจำหน่ายออกจากโรงพยาบาล และคะแนนการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ 1 เดือนหลังคลอดสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (Z = 5.36, p < .001; Z = 5.13, p < .001 ตามลำดับ) และอัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 1 เดือนมากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05) สรุปและข้อเสนอแนะ: โปรแกรมฝึกทักษะการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่มีผลต่อประสิทธิภาพในการให้นมแม่ก่อนจำหน่าย การรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ 1 เดือนหลังคลอดเพิ่มขึ้น และอัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 1 เดือนสูงขึ้นในมารดาวัยรุ่นที่มีบุตรคนแรก ดังนั้นพยาบาลและผดุงครรภ์ควรนำโปรแกรมฝึกทักษะการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่นี้ไปประยุกต์ใช้ในการส่งเสริมให้มารดาหลังคลอดสามารถให้นมแม่ได้อย่างมีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
อัญชนา ปันอินแปง
วรรณา พาหุวัฒนกร
ปิยะนันท์ ลิมเรืองรอง
Anchana Paninpang
Wanna Phahuwatanakorn
Piyanun Limruangrong
format Article
author อัญชนา ปันอินแปง
วรรณา พาหุวัฒนกร
ปิยะนันท์ ลิมเรืองรอง
Anchana Paninpang
Wanna Phahuwatanakorn
Piyanun Limruangrong
author_sort อัญชนา ปันอินแปง
title ผลของโปรแกรมฝึกทักษะการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ต่อประสิทธิภาพการรับรู้สมรรถนะของตนเอง และอัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวของมารดาวัยรุ่นที่มีบุตรคนแรก
title_short ผลของโปรแกรมฝึกทักษะการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ต่อประสิทธิภาพการรับรู้สมรรถนะของตนเอง และอัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวของมารดาวัยรุ่นที่มีบุตรคนแรก
title_full ผลของโปรแกรมฝึกทักษะการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ต่อประสิทธิภาพการรับรู้สมรรถนะของตนเอง และอัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวของมารดาวัยรุ่นที่มีบุตรคนแรก
title_fullStr ผลของโปรแกรมฝึกทักษะการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ต่อประสิทธิภาพการรับรู้สมรรถนะของตนเอง และอัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวของมารดาวัยรุ่นที่มีบุตรคนแรก
title_full_unstemmed ผลของโปรแกรมฝึกทักษะการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ต่อประสิทธิภาพการรับรู้สมรรถนะของตนเอง และอัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวของมารดาวัยรุ่นที่มีบุตรคนแรก
title_sort ผลของโปรแกรมฝึกทักษะการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ต่อประสิทธิภาพการรับรู้สมรรถนะของตนเอง และอัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวของมารดาวัยรุ่นที่มีบุตรคนแรก
publishDate 2022
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/64405
_version_ 1763497010040668160
spelling th-mahidol.644052023-03-30T21:37:38Z ผลของโปรแกรมฝึกทักษะการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ต่อประสิทธิภาพการรับรู้สมรรถนะของตนเอง และอัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวของมารดาวัยรุ่นที่มีบุตรคนแรก Effects of Breastfeeding Skill Training Program on Efficiency, Self-efficacy, and Exclusive Breastfeeding Rate among First-time Adolescent Mothers อัญชนา ปันอินแปง วรรณา พาหุวัฒนกร ปิยะนันท์ ลิมเรืองรอง Anchana Paninpang Wanna Phahuwatanakorn Piyanun Limruangrong มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์ วัยรุ่น การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ประสิทธิผล โปรแกรม การฝึกทักษะ adolescent breastfeeding efficiency self-efficacy วารสารพยาบาลศาสตร์ Nursing Science Journal of Thailand Journal of Nursing Science วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมฝึกทักษะการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ต่อประสิทธิภาพของการให้นมแม่ก่อนจำหน่าย การรับรู้สมรรถนะของตนเอง และอัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 1 เดือนของมารดาวัยรุ่นที่มีบุตรคนแรก รูปแบบการวิจัย: การวิจัยกึ่งทดลองแบบ 2 กลุ่มวัดก่อนและหลังการทดลอง วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นมารดาวัยรุ่นอายุ 15-19 ปี คลอดปกติบุตรคนแรก ณ หน่วยหลังคลอด โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ จำนวน 50 ราย เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบสะดวก แบ่งเป็นกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองกลุ่มละ 25 ราย กลุ่มควบคุมได้รับการดูแลตามปกติและกลุ่มทดลองได้รับการดูแลตามปกติร่วมกับโปรแกรมฝึกทักษะการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ได้แก่ การสังเกต ฝึกปฏิบัติ และวิธีประเมินตนเองในการให้นมแม่ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามการรับรู้สมรรถนะ แห่งตนในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ แบบประเมินประสิทธิภาพให้นมแม่และการดูดนมของทารก และแบบสัมภาษณ์การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ วิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และเปรียบเทียบข้อมูลระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมโดยใช้สถิติ Independent t-test, Mann-Whitney U test, Chi-square, Fisher’s exact test และสถิติ Z test ผลการวิจัย: กลุ่มทดลองมีคะแนนประสิทธิภาพการให้นมแม่ก่อนจำหน่ายออกจากโรงพยาบาล และคะแนนการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ 1 เดือนหลังคลอดสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (Z = 5.36, p < .001; Z = 5.13, p < .001 ตามลำดับ) และอัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 1 เดือนมากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05) สรุปและข้อเสนอแนะ: โปรแกรมฝึกทักษะการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่มีผลต่อประสิทธิภาพในการให้นมแม่ก่อนจำหน่าย การรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ 1 เดือนหลังคลอดเพิ่มขึ้น และอัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 1 เดือนสูงขึ้นในมารดาวัยรุ่นที่มีบุตรคนแรก ดังนั้นพยาบาลและผดุงครรภ์ควรนำโปรแกรมฝึกทักษะการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่นี้ไปประยุกต์ใช้ในการส่งเสริมให้มารดาหลังคลอดสามารถให้นมแม่ได้อย่างมีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง Purpose: To examine the effects of the breastfeeding skill training program on breastfeeding efficiency at discharge and 1-month exclusive breastfeeding rate among first-time adolescent mothers. Design: Quasi-experimental study with pre-test post-test control group design. Methods: Through convenience sampling, the sample consisted of 50 mothers with normal delivery aged 15-19 years at the postpartum ward of Chiangrai Prachanukroh Hospital. They were divided into control and experimental groups with 25 each. The control group received only routine nursing care, while the other received both routine nursing care and the breastfeeding skill training program including observation, practice and self-assessment. Data were collected using a demographic characteristic questionnaire, breastfeeding self-efficacy scale short form, efficient breastfeeding and sucking assessment form, and exclusive breastfeeding record form. Data were analyzed using descriptive statistics, Independent t-test, Mann-Whitney U test, Chi-square test, Fisher exact test and Z test. Main findings: The study revealed that mothers in the experimental group had significantly higher efficient breastfeeding score at discharge and breastfeeding self-efficacy score at 1 month than that in the control group (Z = 5.36, p < .001 and Z = 5.13, p < .001, respectively). Rate of 1-month exclusive breastfeeding was also significantly higher than that in the control group (p < .05). Conclusion and recommendations: Breastfeeding skill training program can increase efficient breastfeeding at discharge and maternal self-efficacy in breastfeeding at 1 month after giving birth, and the rate of exclusive breastfeeding at 1 month. Therefore, nurses and midwives should apply the breastfeeding skill training program to promote postpartum adolescent mothers for continuing efficient exclusive breastfeeding. 2022-03-29T07:33:14Z 2022-03-29T07:33:14Z 2565-03-29 2564 Research Article วารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 39, ฉบับที่ 4 (ต.ค.- ธ.ค. 2564), 27-40 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/64405 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf