ผลของโปรแกรมพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้สูงอายุเบาหวานชนิดที่ 2

วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้สูงอายุเบาหวานชนิดที่ 2 รูปแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป มาตรวจที่คลินิกเ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: สุวิดา ลิ่มเริ่มสกุล, จงจิต เสน่หา, ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ, ปฏิณัฐ บูรณะทรัพย์ขจร, Suwida Limrermsakul, Chongjit Saneha, Doungrut Wattanakitkrileart, Patinut Buranasupkajorn
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2022
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/64411
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.64411
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic ผู้สูงอายุ
ความรอบรู้ด้านสุขภาพ
การดูแลตนเอง
เบาหวานชนิดที่ 2
elderly
health literacy
self-care
type 2 diabetes mellitus
วารสารพยาบาลศาสตร์
Journal of Nursing Science
Nursing Science Journal of Thailand
spellingShingle ผู้สูงอายุ
ความรอบรู้ด้านสุขภาพ
การดูแลตนเอง
เบาหวานชนิดที่ 2
elderly
health literacy
self-care
type 2 diabetes mellitus
วารสารพยาบาลศาสตร์
Journal of Nursing Science
Nursing Science Journal of Thailand
สุวิดา ลิ่มเริ่มสกุล
จงจิต เสน่หา
ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ
ปฏิณัฐ บูรณะทรัพย์ขจร
Suwida Limrermsakul
Chongjit Saneha
Doungrut Wattanakitkrileart
Patinut Buranasupkajorn
ผลของโปรแกรมพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้สูงอายุเบาหวานชนิดที่ 2
description วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้สูงอายุเบาหวานชนิดที่ 2 รูปแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป มาตรวจที่คลินิกเบาหวาน แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลตติยภูมิขั้นสูงแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานครฯ จำนวน 60 ราย สุ่มแบ่งเป็น 2 กลุ่ม โดยใช้บล็อกสุ่มด้วยคอมพิวเตอร์ให้มีเพศเหมือนกัน กลุ่มควบคุม 30 รายได้รับการพยาบาลตามปกติ กลุ่มทดลอง 30 รายได้รับโปรแกรมพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพผ่านช่องทางแอปพลิเคชันไลน์เป็นเวลา 6 สัปดาห์ ใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล ความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมการดูแลตนเองสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน เก็บข้อมูลก่อนและเมื่อสิ้นสุดโปรแกรมฯ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ Wilcoxon signed-rank test และ Mann Whitney U test ผลการวิจัย: ก่อนการทดลอง กลุ่มควบคุม (gif.latex?\bar{X} = 40.37, SD = 4.66) และ กลุ่มทดลอง (gif.latex?\bar{X} = 40.27, SD = 4.93) มีพฤติกรรมการดูแลตนเองปานกลาง หลังการทดลอง กลุ่มควบคุม (gif.latex?\bar{X} = 41.10, SD = 5.25) และกลุ่มทดลอง (gif.latex?\bar{X} = 48.14, SD = 5.64) มีพฤติกรรมการดูแลตนเองสูง ผลการวิเคราะห์พบว่า กลุ่มทดลองหลังเข้าร่วมโปรแกรมฯ มีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการดูแลตนเองสูงกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรมฯ และสูงกว่าของกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05) สรุปและข้อเสนอแนะ: ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า โปรแกรมพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพส่งผลต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้สูงอายุเบาหวาน ดังนั้น พยาบาลควรนำโปรแกรมฯ ผ่านช่องทางแอปพลิเคชันไลน์ที่พัฒนาขี้นนี้ไปใช้เพื่อพัฒนาพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้สูงอายุเบาหวานให้ดีขึ้น
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
สุวิดา ลิ่มเริ่มสกุล
จงจิต เสน่หา
ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ
ปฏิณัฐ บูรณะทรัพย์ขจร
Suwida Limrermsakul
Chongjit Saneha
Doungrut Wattanakitkrileart
Patinut Buranasupkajorn
format Article
author สุวิดา ลิ่มเริ่มสกุล
จงจิต เสน่หา
ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ
ปฏิณัฐ บูรณะทรัพย์ขจร
Suwida Limrermsakul
Chongjit Saneha
Doungrut Wattanakitkrileart
Patinut Buranasupkajorn
author_sort สุวิดา ลิ่มเริ่มสกุล
title ผลของโปรแกรมพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้สูงอายุเบาหวานชนิดที่ 2
title_short ผลของโปรแกรมพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้สูงอายุเบาหวานชนิดที่ 2
title_full ผลของโปรแกรมพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้สูงอายุเบาหวานชนิดที่ 2
title_fullStr ผลของโปรแกรมพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้สูงอายุเบาหวานชนิดที่ 2
title_full_unstemmed ผลของโปรแกรมพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้สูงอายุเบาหวานชนิดที่ 2
title_sort ผลของโปรแกรมพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้สูงอายุเบาหวานชนิดที่ 2
publishDate 2022
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/64411
_version_ 1763489757047816192
spelling th-mahidol.644112023-03-30T15:05:02Z ผลของโปรแกรมพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้สูงอายุเบาหวานชนิดที่ 2 Effects of a Health Literacy Development Program on Self-care Behaviors in Elderly with Type 2 Diabetes Mellitus สุวิดา ลิ่มเริ่มสกุล จงจิต เสน่หา ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ ปฏิณัฐ บูรณะทรัพย์ขจร Suwida Limrermsakul Chongjit Saneha Doungrut Wattanakitkrileart Patinut Buranasupkajorn มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์ ผู้สูงอายุ ความรอบรู้ด้านสุขภาพ การดูแลตนเอง เบาหวานชนิดที่ 2 elderly health literacy self-care type 2 diabetes mellitus วารสารพยาบาลศาสตร์ Journal of Nursing Science Nursing Science Journal of Thailand วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้สูงอายุเบาหวานชนิดที่ 2 รูปแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป มาตรวจที่คลินิกเบาหวาน แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลตติยภูมิขั้นสูงแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานครฯ จำนวน 60 ราย สุ่มแบ่งเป็น 2 กลุ่ม โดยใช้บล็อกสุ่มด้วยคอมพิวเตอร์ให้มีเพศเหมือนกัน กลุ่มควบคุม 30 รายได้รับการพยาบาลตามปกติ กลุ่มทดลอง 30 รายได้รับโปรแกรมพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพผ่านช่องทางแอปพลิเคชันไลน์เป็นเวลา 6 สัปดาห์ ใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล ความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมการดูแลตนเองสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน เก็บข้อมูลก่อนและเมื่อสิ้นสุดโปรแกรมฯ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ Wilcoxon signed-rank test และ Mann Whitney U test ผลการวิจัย: ก่อนการทดลอง กลุ่มควบคุม (gif.latex?\bar{X} = 40.37, SD = 4.66) และ กลุ่มทดลอง (gif.latex?\bar{X} = 40.27, SD = 4.93) มีพฤติกรรมการดูแลตนเองปานกลาง หลังการทดลอง กลุ่มควบคุม (gif.latex?\bar{X} = 41.10, SD = 5.25) และกลุ่มทดลอง (gif.latex?\bar{X} = 48.14, SD = 5.64) มีพฤติกรรมการดูแลตนเองสูง ผลการวิเคราะห์พบว่า กลุ่มทดลองหลังเข้าร่วมโปรแกรมฯ มีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการดูแลตนเองสูงกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรมฯ และสูงกว่าของกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05) สรุปและข้อเสนอแนะ: ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า โปรแกรมพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพส่งผลต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้สูงอายุเบาหวาน ดังนั้น พยาบาลควรนำโปรแกรมฯ ผ่านช่องทางแอปพลิเคชันไลน์ที่พัฒนาขี้นนี้ไปใช้เพื่อพัฒนาพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้สูงอายุเบาหวานให้ดีขึ้น Purpose: This study aimed to assess the effects of a health literacy development program on self-care behaviors in the elderly with type 2 diabetes mellitus. Design: Randomized controlled trial design. Methods: The sample was composed of sixty patients with type 2 diabetes mellitus aged sixty or older from diabetes clinic outpatient department in a super tertiary hospital in Bangkok. They were randomly assigned into two groups by using computerized random blocks with similar gender. Thirty control group received only usual care and 30 experimental group received a health literacy development program via line application for 6 weeks. The Personal Information Record Form, Health Literacy Questionnaire, and Self-Care Behavior Questionnaire for Diabetes Patients were used to collect the data before and at the end of the program. Data were analyzed by using Wilcoxon signed-rank test and Mann Whitney U test. Main findings: The results of the study found that at pretest, control group and experimental group had moderate self-care behaviors (gif.latex?\bar{X} = 40.37, SD = 4.66; gif.latex?\bar{X} = 40.27, SD = 4.93, respectively). At posttest, control group and experimental group had high self-care behaviors (gif.latex?\bar{X} = 41.10, SD = 5.25; gif.latex?\bar{X} = 48.14, SD =.64; respectively). The analysis showed that experimental group had a statistically higher mean score of self-care behaviors of posttest than that of pretest and had a higher mean score of self-care behaviors than that of the control group with statistically significance (p < .05). Conclusion and recommendations: The results of the study revealed that the health literacy development program can affect self-care behaviors of elderly with type 2 diabetes mellitus. Therefore, nurses should use the health literacy development program via line application in order to improve self-care behaviors of elderly with type 2 diabetes mellitus. 2022-03-29T09:34:53Z 2022-03-29T09:34:53Z 2565-03-29 2565 Research Article วารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 40, ฉบับที่ 1 (ม.ค.- มี.ค. 2565), 84-98 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/64411 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf