ผลของโปรแกรมการให้ข้อมูล การสร้างแรงจูงใจ และการฝึกทักษะการตัดสินใจ ต่อพฤติกรรมการป้องกันการตั้งครรภ์ซ้ำในมารดาวัยรุ่นหลังคลอด
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการให้ข้อมูล การสร้างแรงจูงใจ และการฝึกทักษะการตัดสินใจต่อพฤติกรรมการป้องกันการตั้งครรภ์ซ้ำในมารดาวัยรุ่นหลังคลอด รูปแบบการวิจัย: การวิจัยครั้งนี้เป็นวิจัยกึ่งทดลองแบบ 2 กลุ่ม วัดผลก่อนและหลังการทดลอง วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่าง คือ มารดาวัยรุ่นหลั...
Saved in:
Main Authors: | , , , , , , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
2022
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/64823 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.64823 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
มารดาวัยรุ่น ตั้งครรภ์วัยรุ่น การตัดสินใจ ข้อมูล แรงจูงใจ adolescent mothers adolescent pregnancy decision-making information motivation วารสารพยาบาลศาสตร์ Journal of Nursing Science Nursing Science Journal of Thailand |
spellingShingle |
มารดาวัยรุ่น ตั้งครรภ์วัยรุ่น การตัดสินใจ ข้อมูล แรงจูงใจ adolescent mothers adolescent pregnancy decision-making information motivation วารสารพยาบาลศาสตร์ Journal of Nursing Science Nursing Science Journal of Thailand อาทิตยา มาละ ปัญญรัตน์ ลาภวงศ์วัฒนา ณัฐกมล ชาญสาธิตพร กรกฎ ศิริมัย Athitaya Mala Punyarat Lapvongwatana Nutkamol Chansatitporn Korakot Sirimai ผลของโปรแกรมการให้ข้อมูล การสร้างแรงจูงใจ และการฝึกทักษะการตัดสินใจ ต่อพฤติกรรมการป้องกันการตั้งครรภ์ซ้ำในมารดาวัยรุ่นหลังคลอด |
description |
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการให้ข้อมูล การสร้างแรงจูงใจ และการฝึกทักษะการตัดสินใจต่อพฤติกรรมการป้องกันการตั้งครรภ์ซ้ำในมารดาวัยรุ่นหลังคลอด
รูปแบบการวิจัย: การวิจัยครั้งนี้เป็นวิจัยกึ่งทดลองแบบ 2 กลุ่ม วัดผลก่อนและหลังการทดลอง
วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่าง คือ มารดาวัยรุ่นหลังคลอดอายุน้อยกว่า 20 ปีบริบูรณ์ ที่มาคลอดโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง โดยแบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 27 คน กลุ่มเปรียบเทียบ 25 คน กลุ่มเปรียบเทียบได้รับการพยาบาลตามปกติ กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมซึ่งประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ การให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันการตั้งครรภ์ซ้ำและการคุมกำเนิด การสร้างแรงจูงใจและทัศนคติทางบวกต่อการป้องกันการตั้งครรภ์ซ้ำ และการฝึกทักษะการตัดสินใจต่อการป้องกันการตั้งครรภ์ซ้ำ เก็บข้อมูลก่อนการทดลอง หลังการทดลองทันที และระยะติดตามผล 6-8 สัปดาห์ ด้วยแบบสอบถามด้านคุณลักษณะส่วนบุคคล ความรู้ ทัศนคติ ทักษะการตัดสินใจ และพฤติกรรมป้องกันการตั้งครรภ์ซ้ำ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณา สถิติทดสอบที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้ำ
ผลการวิจัย: เมื่อสิ้นสุดการทดลอง และติดตามผล มารดาวัยรุ่นกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความรู้ (F = 28.34, p < .001) ทัศนคติ (F = 6.19, p = .005) ดีกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนทักษะการตัดสินใจ ภายในกลุ่มทดลองมีคะแนนดีขึ้น แต่ไม่พบความแตกต่างเมื่อเทียบกับกลุ่มเปรียบเทียบ (F = 1.74, p = .193) และพฤติกรรมป้องกันการตั้งครรภ์ซ้ำภายในกลุ่มทดลองมีคะแนนดีขึ้นในระยะติดดามผล แต่ยังไม่พบความแตกต่างเมื่อเทียบกับกลุ่มเปรียบเทียบ (F = 3.07, p = .08)
สรุปและข้อเสนอแนะ: การให้ข้อมูลข่าวสาร การสร้างแรงจูงใจ และการพัฒนาทักษะการตัดสินใจโดยนำสามีหรือคู่รัก มาช่วยสร้างแรงจูงใจ สามารถทำให้เกิดพฤติกรรมป้องกันการตั้งครรภ์ซ้ำได้ ดังนั้นพยาบาลควรนำโปรแกรมนี้ไปใช้ เพื่อให้มารดาวัยรุ่นมีพฤติกรรมการป้องกันการตั้งครรภ์ซ้ำต่อไป |
author2 |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. สาขาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน |
author_facet |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. สาขาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน อาทิตยา มาละ ปัญญรัตน์ ลาภวงศ์วัฒนา ณัฐกมล ชาญสาธิตพร กรกฎ ศิริมัย Athitaya Mala Punyarat Lapvongwatana Nutkamol Chansatitporn Korakot Sirimai |
format |
Article |
author |
อาทิตยา มาละ ปัญญรัตน์ ลาภวงศ์วัฒนา ณัฐกมล ชาญสาธิตพร กรกฎ ศิริมัย Athitaya Mala Punyarat Lapvongwatana Nutkamol Chansatitporn Korakot Sirimai |
author_sort |
อาทิตยา มาละ |
title |
ผลของโปรแกรมการให้ข้อมูล การสร้างแรงจูงใจ และการฝึกทักษะการตัดสินใจ ต่อพฤติกรรมการป้องกันการตั้งครรภ์ซ้ำในมารดาวัยรุ่นหลังคลอด |
title_short |
ผลของโปรแกรมการให้ข้อมูล การสร้างแรงจูงใจ และการฝึกทักษะการตัดสินใจ ต่อพฤติกรรมการป้องกันการตั้งครรภ์ซ้ำในมารดาวัยรุ่นหลังคลอด |
title_full |
ผลของโปรแกรมการให้ข้อมูล การสร้างแรงจูงใจ และการฝึกทักษะการตัดสินใจ ต่อพฤติกรรมการป้องกันการตั้งครรภ์ซ้ำในมารดาวัยรุ่นหลังคลอด |
title_fullStr |
ผลของโปรแกรมการให้ข้อมูล การสร้างแรงจูงใจ และการฝึกทักษะการตัดสินใจ ต่อพฤติกรรมการป้องกันการตั้งครรภ์ซ้ำในมารดาวัยรุ่นหลังคลอด |
title_full_unstemmed |
ผลของโปรแกรมการให้ข้อมูล การสร้างแรงจูงใจ และการฝึกทักษะการตัดสินใจ ต่อพฤติกรรมการป้องกันการตั้งครรภ์ซ้ำในมารดาวัยรุ่นหลังคลอด |
title_sort |
ผลของโปรแกรมการให้ข้อมูล การสร้างแรงจูงใจ และการฝึกทักษะการตัดสินใจ ต่อพฤติกรรมการป้องกันการตั้งครรภ์ซ้ำในมารดาวัยรุ่นหลังคลอด |
publishDate |
2022 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/64823 |
_version_ |
1763490122823630848 |
spelling |
th-mahidol.648232023-03-31T07:44:39Z ผลของโปรแกรมการให้ข้อมูล การสร้างแรงจูงใจ และการฝึกทักษะการตัดสินใจ ต่อพฤติกรรมการป้องกันการตั้งครรภ์ซ้ำในมารดาวัยรุ่นหลังคลอด Effects of the Information Motivation and Decision-making Skills Program on Preventive Behaviors towards Repeated Pregnancy among Adolescent Mothers อาทิตยา มาละ ปัญญรัตน์ ลาภวงศ์วัฒนา ณัฐกมล ชาญสาธิตพร กรกฎ ศิริมัย Athitaya Mala Punyarat Lapvongwatana Nutkamol Chansatitporn Korakot Sirimai มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. สาขาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มารดาวัยรุ่น ตั้งครรภ์วัยรุ่น การตัดสินใจ ข้อมูล แรงจูงใจ adolescent mothers adolescent pregnancy decision-making information motivation วารสารพยาบาลศาสตร์ Journal of Nursing Science Nursing Science Journal of Thailand วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการให้ข้อมูล การสร้างแรงจูงใจ และการฝึกทักษะการตัดสินใจต่อพฤติกรรมการป้องกันการตั้งครรภ์ซ้ำในมารดาวัยรุ่นหลังคลอด รูปแบบการวิจัย: การวิจัยครั้งนี้เป็นวิจัยกึ่งทดลองแบบ 2 กลุ่ม วัดผลก่อนและหลังการทดลอง วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่าง คือ มารดาวัยรุ่นหลังคลอดอายุน้อยกว่า 20 ปีบริบูรณ์ ที่มาคลอดโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง โดยแบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 27 คน กลุ่มเปรียบเทียบ 25 คน กลุ่มเปรียบเทียบได้รับการพยาบาลตามปกติ กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมซึ่งประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ การให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันการตั้งครรภ์ซ้ำและการคุมกำเนิด การสร้างแรงจูงใจและทัศนคติทางบวกต่อการป้องกันการตั้งครรภ์ซ้ำ และการฝึกทักษะการตัดสินใจต่อการป้องกันการตั้งครรภ์ซ้ำ เก็บข้อมูลก่อนการทดลอง หลังการทดลองทันที และระยะติดตามผล 6-8 สัปดาห์ ด้วยแบบสอบถามด้านคุณลักษณะส่วนบุคคล ความรู้ ทัศนคติ ทักษะการตัดสินใจ และพฤติกรรมป้องกันการตั้งครรภ์ซ้ำ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณา สถิติทดสอบที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้ำ ผลการวิจัย: เมื่อสิ้นสุดการทดลอง และติดตามผล มารดาวัยรุ่นกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความรู้ (F = 28.34, p < .001) ทัศนคติ (F = 6.19, p = .005) ดีกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนทักษะการตัดสินใจ ภายในกลุ่มทดลองมีคะแนนดีขึ้น แต่ไม่พบความแตกต่างเมื่อเทียบกับกลุ่มเปรียบเทียบ (F = 1.74, p = .193) และพฤติกรรมป้องกันการตั้งครรภ์ซ้ำภายในกลุ่มทดลองมีคะแนนดีขึ้นในระยะติดดามผล แต่ยังไม่พบความแตกต่างเมื่อเทียบกับกลุ่มเปรียบเทียบ (F = 3.07, p = .08) สรุปและข้อเสนอแนะ: การให้ข้อมูลข่าวสาร การสร้างแรงจูงใจ และการพัฒนาทักษะการตัดสินใจโดยนำสามีหรือคู่รัก มาช่วยสร้างแรงจูงใจ สามารถทำให้เกิดพฤติกรรมป้องกันการตั้งครรภ์ซ้ำได้ ดังนั้นพยาบาลควรนำโปรแกรมนี้ไปใช้ เพื่อให้มารดาวัยรุ่นมีพฤติกรรมการป้องกันการตั้งครรภ์ซ้ำต่อไป Purpose: To examine the effects of the Information, Motivation and Decision-making Skills Program on preventive behaviors towards repeated pregnancy among adolescent mothers. Design: Two-group pretest-posttest quasi-experimental design. Methods: Participants were adolescent mothers younger than 20 years of age who attended the delivery care unit at a university hospital. Two comparable adolescent mothers were selected to participate in the study, 27 subjects served as an intervention group, 25 of them served as a comparison group. The comparison group received usual care. The intervention group received the program consisted of 3 steps: 1) providing information on repeated pregnancy prevention and contraception, 2) building motivation and positive attitude towards repeated pregnancy prevention, and 3) building skills for repeated pregnancy prevention. Data were collected three times: before the experiment, immediately after, and 6-8 weeks follow-up. Self-administered questionnaires, including knowledge, attitudes, decision making, and preventive behaviors towards repeated pregnancy were used. Data were analyzed using descriptive statistics, independent t-test, and repeated measures ANOVA. Main findings: The mean score of knowledge (F = 28.34, p < .001) and attitude (F = 6.19, p = .005), in the intervention group were significantly higher than the comparison group from baseline to immediately after intervention and 8-week follow-up. The mean score of decision-making skills in the intervention group became increasing but did not significantly differ from the comparison group (F = 1.74, p = .193), and the mean score of repeated pregnancy preventive behaviors became higher at 8-week follow-up but did not significantly differ from the comparison group (F = 3.07, p = .08). Conclusion and recommendations: This program which brought the spouses to help motivate the adolescent mothers could assist the mothers to perform preventive behaviors towards repeated pregnancy. Therefore, nurses should apply this program to promote preventive behaviors among adolescent mothers towards repeated pregnancy. 2022-05-31T08:06:23Z 2022-05-31T08:06:23Z 2565-05-31 2565 Research Article วารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 40, ฉบับที่ 3 (ก.ค.- ก.ย. 2565), 14-30 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/64823 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf |