โปรแกรมการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมความปลอดภัยในการทำงานของคนงาน กองโรงงานชางกล กรุงเทพมหานคร

ความปลอดภัยในการทำงานเป็นเรื่องสำคัญที่ส่งผลต่อปัญหาสุขภาพของคนงาน การพัฒนา โปรแกรมส่งเสริมความปลอดภัยในการทำงานของคนงาน กองโรงงานช่างกลกรุงเทพมหานคร โดยเน้นการมีส่วนร่วมของคนงานในการร่วมคิดวางแผนดำเนินการและร่วมกันเฝ้าระวังเพื่อนร่วมงาน ด้วยกันให้สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ไม่ปลอดภัยจากการปฏิบั...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: วิทยา ชาญชัย, มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์, นิรัตน์ อิมามี, วิทยา อยู่สุข
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2022
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/72006
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.72006
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม
แรงสนับสนุนทางสังคม
ความปลอดภัยในการทำงาน
คนงาน
spellingShingle การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม
แรงสนับสนุนทางสังคม
ความปลอดภัยในการทำงาน
คนงาน
วิทยา ชาญชัย
มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์
นิรัตน์ อิมามี
วิทยา อยู่สุข
โปรแกรมการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมความปลอดภัยในการทำงานของคนงาน กองโรงงานชางกล กรุงเทพมหานคร
description ความปลอดภัยในการทำงานเป็นเรื่องสำคัญที่ส่งผลต่อปัญหาสุขภาพของคนงาน การพัฒนา โปรแกรมส่งเสริมความปลอดภัยในการทำงานของคนงาน กองโรงงานช่างกลกรุงเทพมหานคร โดยเน้นการมีส่วนร่วมของคนงานในการร่วมคิดวางแผนดำเนินการและร่วมกันเฝ้าระวังเพื่อนร่วมงาน ด้วยกันให้สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ไม่ปลอดภัยจากการปฏิบัตงิ าน ซ่งึ จะนำไปสู่การพัฒนา คนงานให้มีการรับรู้ และมีพฤติกรรมการทำงานที่ปลอดภัย และมีพฤติกรรมสุขภาพพื้นฐานที่ถูกต้อง ต่อไป การวิจัยครั้งนี้เป็น การศึกษาแบบกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการเรียนรู้แบบ มีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมความปลอดภัยในการทำงานของคนงานกองโรงงานช่างกล กรุงเทพมหานคร โดยประยุกต์แนวคิดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ และทฤษฎีแรง สนับสนุนทางสังคม เป็นแนวทางในการจัดโปรแกรม วิธีการจัดการเรียนรู้ประกอบด้วย การใช้ กจิ กรรมนันทนาการ การบรรยาย การประชุมกลุ่มใหญ่ การระดมสมอง การอภิปราย กรณีศกึ ษา การประชุมกลุ่มย่อย การทำงานเป็นกลุ่ม การสาธิต การฝึกปฎิบัติจากสถานการณ์จริง กิจกรรม สัปดาห์ความปลอดภัย การกระจายเสียงตามสาย กลุ่มตัวอย่างได้แก่คนงานในฝ่ายซ่อมบำรุง ซึ่งเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมในการใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล ได้แก่ อุปกรณ์ป้องกันใบหน้า ดวงตา หู และอุปกรณ์ป้องกันการหายใจ จำนวน 60 คน ระยะเวลาการทดลองจัดโปรแกรม 9 สัปดาห์ รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูล ด้วยสถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ Paired Samples t-test ผลการศึกษาพบว่า หลังการทดลอง กลุ่มตัวอย่างมีการรับรู้มีโอกาสเสี่ยงและความรุนแรงต่อ อุบัติเหตุในการทำงาน การรับรู้ประโยชน์ อุปสรรค และการรับรู้ความสามารถในการใช้อุปกรณ์ป้องกัน อันตรายส่วนบุคคลขณะทำงาน สูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.05) นอกจากนี้กลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล ถูกต้องมากกว่าก่อน การทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.05) ผลการวิจัยแสดงว่าโปรแกรมการเรียนรู้ แบบมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมความปลอดภัยในการทำงานของคนงาน มีผลทำให้คนงานมีการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ดีขึ้น ดังนั้นโปรแกรมส่งเสริมความปลอดภัยในการทำงานของคนงานนี้ อาจนำไปประยุกต์ใช้ในสถานประกอบการที่มีการทำงาน เกี่ยวข้องกับอุปกรณ์ป้องกันความปลอดภัย เพื่อส่งเสริมให้คนงานมีพฤติกรรมที่เหมาะสมและเป็นการป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นได้
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
วิทยา ชาญชัย
มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์
นิรัตน์ อิมามี
วิทยา อยู่สุข
format Article
author วิทยา ชาญชัย
มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์
นิรัตน์ อิมามี
วิทยา อยู่สุข
author_sort วิทยา ชาญชัย
title โปรแกรมการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมความปลอดภัยในการทำงานของคนงาน กองโรงงานชางกล กรุงเทพมหานคร
title_short โปรแกรมการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมความปลอดภัยในการทำงานของคนงาน กองโรงงานชางกล กรุงเทพมหานคร
title_full โปรแกรมการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมความปลอดภัยในการทำงานของคนงาน กองโรงงานชางกล กรุงเทพมหานคร
title_fullStr โปรแกรมการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมความปลอดภัยในการทำงานของคนงาน กองโรงงานชางกล กรุงเทพมหานคร
title_full_unstemmed โปรแกรมการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมความปลอดภัยในการทำงานของคนงาน กองโรงงานชางกล กรุงเทพมหานคร
title_sort โปรแกรมการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมความปลอดภัยในการทำงานของคนงาน กองโรงงานชางกล กรุงเทพมหานคร
publishDate 2022
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/72006
_version_ 1763497206559539200
spelling th-mahidol.720062023-03-31T00:30:24Z โปรแกรมการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมความปลอดภัยในการทำงานของคนงาน กองโรงงานชางกล กรุงเทพมหานคร Participatory Learning Program to Promote Working Safety for Mechanical Maintenance Division Workers, Bangkok Metropolis วิทยา ชาญชัย มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์ นิรัตน์ อิมามี วิทยา อยู่สุข มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม แรงสนับสนุนทางสังคม ความปลอดภัยในการทำงาน คนงาน ความปลอดภัยในการทำงานเป็นเรื่องสำคัญที่ส่งผลต่อปัญหาสุขภาพของคนงาน การพัฒนา โปรแกรมส่งเสริมความปลอดภัยในการทำงานของคนงาน กองโรงงานช่างกลกรุงเทพมหานคร โดยเน้นการมีส่วนร่วมของคนงานในการร่วมคิดวางแผนดำเนินการและร่วมกันเฝ้าระวังเพื่อนร่วมงาน ด้วยกันให้สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ไม่ปลอดภัยจากการปฏิบัตงิ าน ซ่งึ จะนำไปสู่การพัฒนา คนงานให้มีการรับรู้ และมีพฤติกรรมการทำงานที่ปลอดภัย และมีพฤติกรรมสุขภาพพื้นฐานที่ถูกต้อง ต่อไป การวิจัยครั้งนี้เป็น การศึกษาแบบกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการเรียนรู้แบบ มีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมความปลอดภัยในการทำงานของคนงานกองโรงงานช่างกล กรุงเทพมหานคร โดยประยุกต์แนวคิดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ และทฤษฎีแรง สนับสนุนทางสังคม เป็นแนวทางในการจัดโปรแกรม วิธีการจัดการเรียนรู้ประกอบด้วย การใช้ กจิ กรรมนันทนาการ การบรรยาย การประชุมกลุ่มใหญ่ การระดมสมอง การอภิปราย กรณีศกึ ษา การประชุมกลุ่มย่อย การทำงานเป็นกลุ่ม การสาธิต การฝึกปฎิบัติจากสถานการณ์จริง กิจกรรม สัปดาห์ความปลอดภัย การกระจายเสียงตามสาย กลุ่มตัวอย่างได้แก่คนงานในฝ่ายซ่อมบำรุง ซึ่งเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมในการใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล ได้แก่ อุปกรณ์ป้องกันใบหน้า ดวงตา หู และอุปกรณ์ป้องกันการหายใจ จำนวน 60 คน ระยะเวลาการทดลองจัดโปรแกรม 9 สัปดาห์ รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูล ด้วยสถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ Paired Samples t-test ผลการศึกษาพบว่า หลังการทดลอง กลุ่มตัวอย่างมีการรับรู้มีโอกาสเสี่ยงและความรุนแรงต่อ อุบัติเหตุในการทำงาน การรับรู้ประโยชน์ อุปสรรค และการรับรู้ความสามารถในการใช้อุปกรณ์ป้องกัน อันตรายส่วนบุคคลขณะทำงาน สูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.05) นอกจากนี้กลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล ถูกต้องมากกว่าก่อน การทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.05) ผลการวิจัยแสดงว่าโปรแกรมการเรียนรู้ แบบมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมความปลอดภัยในการทำงานของคนงาน มีผลทำให้คนงานมีการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ดีขึ้น ดังนั้นโปรแกรมส่งเสริมความปลอดภัยในการทำงานของคนงานนี้ อาจนำไปประยุกต์ใช้ในสถานประกอบการที่มีการทำงาน เกี่ยวข้องกับอุปกรณ์ป้องกันความปลอดภัย เพื่อส่งเสริมให้คนงานมีพฤติกรรมที่เหมาะสมและเป็นการป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นได้ Working safety is one of the important health problems affecting workers. The development of a working safety promotion program for Mechanical Maintenance Division workers which emphasizes workers’ participation in thinking, planning, implementing, and keeping a watchful eye on their coworkers as a way to of modifying unsafe working behavior. This study was a quasi-experimental research which aimed to assess the effects of a participatory learning program to promote the working safety of Mechanical Division workers in the Bangkok Metropolis. The program was developed by applying participatory learning theory, Health Belief Model and social support theory. The learning methods used were composed of recreational activities, lecture, large and small group discussions, brainstorming, case studies, group work, demonstration, field-practice, organizing a “Safe Week” activity, and local-voice program. The samples were composed of 60 workers in the repair and Maintenance unit who were involved in using personal protective equipment for the face, eyes, ears, and respiration. The program lasted for 9 weeks and the data were collected by using and activities. The data were analyzed by means of statistics al categories, such as percentage, arithmetic mean, standard deviation, and Paired Samples, t-test. The results of this study showed that, after experimentation, the sampled group had significantly higher levels of perceived susceptibility and a higher level of perception regarding the severity of working accidents, and the benefits of equipment used to protect against accidents. As well, after the experiment they had a greater understanding of the obstacles regarding the use of safety equipment as well as a higher level of perceived selfefficacy (p<0.05). In addition, the sampled group developed a more proper use of the personal protective equipment (p<0.05). These findings showed that the participatory learning program was effective in promoting the working safety of the workers. Thus, this working safety promotion program may be utilized in workplace in order to help workers ovoid harmful injuries. 2022-06-30T10:55:03Z 2022-06-30T10:55:03Z 2565-06-30 2552 Research Article วารสารสุขศึกษา. ปีที่ 32, ฉบับที่ 113 (ก.ย.- ธ.ค. 2552), 64-83 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/72006 tha มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf