ผลของฉลากคำเตือนบนซองบุหรี่ ต่อการรับรู้ด้านสุขภาพของนักเรียนอาชีวศีกษาในกรุงเทพมหานคร

Fulltext is not available.

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ธนนันทน์ วรรณศิโรรัตน์, ลักขณา เติมศิริกุลชัย, มณฑา เก่งการพานิช, ธราดล เก่งการพานิช
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2022
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/72014
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.72014
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic ฉลากคำเตือนบนซองบุหรี่
การรับรู้ความรุนแรงและโอกาสเสี่ยง
นักเรียนอาชีวศึกษา
spellingShingle ฉลากคำเตือนบนซองบุหรี่
การรับรู้ความรุนแรงและโอกาสเสี่ยง
นักเรียนอาชีวศึกษา
ธนนันทน์ วรรณศิโรรัตน์
ลักขณา เติมศิริกุลชัย
มณฑา เก่งการพานิช
ธราดล เก่งการพานิช
ผลของฉลากคำเตือนบนซองบุหรี่ ต่อการรับรู้ด้านสุขภาพของนักเรียนอาชีวศีกษาในกรุงเทพมหานคร
description Fulltext is not available.
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
ธนนันทน์ วรรณศิโรรัตน์
ลักขณา เติมศิริกุลชัย
มณฑา เก่งการพานิช
ธราดล เก่งการพานิช
format Article
author ธนนันทน์ วรรณศิโรรัตน์
ลักขณา เติมศิริกุลชัย
มณฑา เก่งการพานิช
ธราดล เก่งการพานิช
author_sort ธนนันทน์ วรรณศิโรรัตน์
title ผลของฉลากคำเตือนบนซองบุหรี่ ต่อการรับรู้ด้านสุขภาพของนักเรียนอาชีวศีกษาในกรุงเทพมหานคร
title_short ผลของฉลากคำเตือนบนซองบุหรี่ ต่อการรับรู้ด้านสุขภาพของนักเรียนอาชีวศีกษาในกรุงเทพมหานคร
title_full ผลของฉลากคำเตือนบนซองบุหรี่ ต่อการรับรู้ด้านสุขภาพของนักเรียนอาชีวศีกษาในกรุงเทพมหานคร
title_fullStr ผลของฉลากคำเตือนบนซองบุหรี่ ต่อการรับรู้ด้านสุขภาพของนักเรียนอาชีวศีกษาในกรุงเทพมหานคร
title_full_unstemmed ผลของฉลากคำเตือนบนซองบุหรี่ ต่อการรับรู้ด้านสุขภาพของนักเรียนอาชีวศีกษาในกรุงเทพมหานคร
title_sort ผลของฉลากคำเตือนบนซองบุหรี่ ต่อการรับรู้ด้านสุขภาพของนักเรียนอาชีวศีกษาในกรุงเทพมหานคร
publishDate 2022
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/72014
_version_ 1763493968608231424
spelling th-mahidol.720142022-06-30T23:19:28Z ผลของฉลากคำเตือนบนซองบุหรี่ ต่อการรับรู้ด้านสุขภาพของนักเรียนอาชีวศีกษาในกรุงเทพมหานคร Effect of Cigarette Labeling on Health Perception Among Vocational Students in Bangkok, Thailand ธนนันทน์ วรรณศิโรรัตน์ ลักขณา เติมศิริกุลชัย มณฑา เก่งการพานิช ธราดล เก่งการพานิช มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์ ฉลากคำเตือนบนซองบุหรี่ การรับรู้ความรุนแรงและโอกาสเสี่ยง นักเรียนอาชีวศึกษา Fulltext is not available. พฤติกรรมการสูบบุหรี่ในเยาวชนเป็นปัญหาสำคัญ ที่นำไปสู่การสูญเสียด้านสุขภาพ และเศรษฐกิจ การวิจัยเชิงสำรวจนี้เพื่อศึกษาผลของฉลากคำเตือนบนซองบุหรี่ ต่อการรับรู้ด้านสุขภาพความคิดเห็นต่อ ภาพลักษณ์ของซองบุหรี่ และความตั้งใจในการสูบบุหรี่ของนักเรียนอาชีวศึกษาในกรุงเทพมหานคร จำนวน 480 คน ทำการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน Independent t-test และ one way ANOVA (F- test) ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีอัตราการสูบบุหรี่ร้อยละ 30.6 เพศหญิงมีการรับรู้ความรุนแรงและ โอกาสเสี่ยงต่ออันตรายจากการสูบบุหรี่จากการเห็นภาพคำเตือนและข้อความแสดงชื่อสารพิษและสารก่อ มะเร็งในควันบุหรี่สูงกว่าเพศชาย โดยการรับรู้ความรุนแรงจากการเห็นภาพคำเตือนและการรับรู้โอกาสเสี่ยง จากการเห็นข้อความมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ กลุ่มที่สูบบุหรี่มีการรับรู้ความรุนแรง และโอกาสเสี่ยงจากการเห็นภาพคำเตือนและข้อความต่ำกว่ากลุ่มอื่น โดยการรับรู้ความรุนแรงจากการเห็น ภาพคำเตือนและข้อความมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ กลุ่มที่ไม่เคยเห็นมีการรับรู้ความ รุนแรงจากการเห็นภาพคำเตือนสูงกว่ากลุ่มที่เคยเห็น กลุ่มที่ตั้งใจเลิกสูบบุหรี่มีการรับรู้ความรุนแรงและ โอกาสเสี่ยงจากการเห็นภาพคำเตือน และข้อความสูงกว่ากลุ่มที่ตั้งใจไม่เลิกสูบ โดยการรับรู้ความรุนแรงและ โอกาสเสี่ยงจากการเห็นภาพคำเตือนและการรับรู้ความรุนแรงจากการเห็นข้อความมีความแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ คำเตือนบนซองบุหรี่ทำให้กลุ่มตัวอย่างไม่อยากพกพาและไม่อยากซื้อบุหรี่ ข้อเสนอแนะคือให้มีภาพคำเตือนบนซองบุหรี่ต่อไปและบังคับใช้กับซองบุหรี่มวนเองด้วย ให้ใช้ภาพที่เฉพาะ เจาะจงต่อกลุ่มเยาวชน เน้นภาพที่น่ากลัว สื่อความหมายชัดเจน และรณรงค์ภาพดังกล่าวผ่านสื่อเพื่อป้องกัน ไม่ให้เยาวชนริเริ่มสูบบุหรี่ด้วย Smoking behavior among adolescents is one important issue. This cross-sectional survey research aimed at studying the effect of cigarette labeling on health perception, opinions toward the images on cigarette packs, and the intention to smoke among 480 vocational education students in Bangkok, Thailand. The sampleswere selected using a multi-stage sampling method. The respondents were classified into the groups of smokers, non-smokers or ex-smokers. Data analysis was done by computing percentage, arithmetic mean, and standard deviation as well as using an independent t-test and one-way ANOVA (F-test). The research findings revealed that the percentage of the sample who smoked was 30.6. Higher levels of perceived severity and susceptibility to adverse effects from smoking through the viewing of cigarette labels were found in females as compared to males. The group of smokers was found to have a lower perceived severity and perceived susceptibility than the other groups. A statistically significant difference of perceived severity from seeing warning pictures and narrations was found among all groups. Respondents who had never seen warning labels had a significantly increased perceived severity than those who had seen them before. Respondents who had an intention to stop smoking were found to have a higher level of perceived severity and perceived susceptibility than those who had no intention to quit. A statistically significant difference was found between perceived severity and perceived susceptibility from seeing warning pictures and perceived severity from seeing narrations. Warning labels on cigarette packets made all respondents want to neither take cigarettes with them nor to buy cigarettes. So, warning pictures should continue to be printed on cigarette packets and this regulation should be also applied to packages of hand idled cigarette. Pictures used should be specifically aimed at adolescents with an appeal to fear and clearly communicated. Campaign activities of warning pictures should be conducted through various forms of media with the aim of preventing adolescents from starting to smoke. 2022-06-30T16:19:28Z 2022-06-30T16:19:28Z 2565-06-30 2553 Research Article วารสารสุขศึกษา. ปีที่ 33, ฉบับที่ 116 (ก.ย.- ธ.ค. 2553), 65- https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/72014 tha มหาวิทยาลัยมหิดล