พลวัตชุมชนพื้นที่สีเขียว ของชุมชนบางน้ําผึ้ง จังหวัดสมุทรปราการ

การศึกษาพลวัตชุมชนพื้นที่สีเขียว ของชุมชนบางน้ำผึ้ง จังหวัดสมุทรปราการ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางด้านกายภาพ เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมของชุมชน ในพื้นที่ชุมชนบางน้ำผึ้ง จังหวัดสมุทรปราการ ผู้วิจัยใช้ระเบียบวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยเทคนิคการสังเกตการณ์ การสัมภาษณ์เชิงลึก เป็นเครื่องมือ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ธนกฤต หิรัญสาย, สุภาภรณ์ สงค์ประชา
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. สาขาวิชาสังคมศาสตร์สิ่งแวดล้อม
Format: Article
Language:Thai
Published: 2022
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/72023
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.72023
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic การใช้ประโยชน์ที่ดิน
การเปลี่ยนแปลง
พลวัตชุมชน
พื้นที่สีเขียว
Land use
changes
community dynamics
green zone
spellingShingle การใช้ประโยชน์ที่ดิน
การเปลี่ยนแปลง
พลวัตชุมชน
พื้นที่สีเขียว
Land use
changes
community dynamics
green zone
ธนกฤต หิรัญสาย
สุภาภรณ์ สงค์ประชา
พลวัตชุมชนพื้นที่สีเขียว ของชุมชนบางน้ําผึ้ง จังหวัดสมุทรปราการ
description การศึกษาพลวัตชุมชนพื้นที่สีเขียว ของชุมชนบางน้ำผึ้ง จังหวัดสมุทรปราการ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางด้านกายภาพ เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมของชุมชน ในพื้นที่ชุมชนบางน้ำผึ้ง จังหวัดสมุทรปราการ ผู้วิจัยใช้ระเบียบวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยเทคนิคการสังเกตการณ์ การสัมภาษณ์เชิงลึก เป็นเครื่องมือในการศึกษากับผู้ที่เกี่ยวข้องทั้ง 3 กลุ่ม จํานวน28 รายผลการศึกษา พบว่า ตําบลบางน้ำผึ้งเป็นส่วนหนึ่งของพื้นที่คุ้งบางกระเจ้าหรือที่เรียกกันว่าเกาะกระเพาะหมู โดยสมัยอดีตพื้นที่บริเวณนี้เป็นพื้นที่สวนผลไม้ทั้งหมด ต่อมาในปี 2520 รัฐบาลมีนโยบายจะอนุรักษ์พื้นที่ในคุ้งบางกระเจ้าโดยการขอซื้อพื้นที่จากคนที่อยู่อาศัยในชุมชน ซึ่งเป็นพื้นที่ของชุมชนบางน้ำผึ้งประมาณ 103 ไร่ และได้รับการแต่งตั้งให้เป็นพื้นที่อนุรักษ์ชนบทและเกษตรกรรมตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา ซึ่งการเปลี่ยนแปลงของชุมชน ในประเด็นการเปลี่ยนแปลงทางด้านกายภาพ พบว่า รูปแบบการตั้งถิ่นฐานเปลี่ยนจากการตั้งถิ่นฐานตามริมคลองมาเป็นริมถนน รูปแบบการใช้ประโยชน์ที่ดินพื้นที่เกษตรกรรมมีจํานวนลดลงและพื้นที่อยู่อาศัยมีจํานวนเพิ่มมากขึ้น ประเด็นการเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจ พบว่า ในอดีตประกอบอาชีพทําสวนและในปัจจุบันเปลี่ยนมาเป็นประกอบอาชีพพนักงานบริษัทและอาชีพค้าขาย การผลิตเปลี่ยนจากใช้วิธีการแบบดั้งเดิมมาใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วย การจําหน่ายเปลี่ยนจากการค้าขายทางน้ำมาเป็นบนบก ในประเด็นการเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคม พบว่า ขนาดครัวเรือนเปลี่ยนจากครอบครัวขยายมาเป็นครอบครัวเดี่ยวมากขึ้น ความเข้มแข็งของชุมชนในอดีตการรวมกลุ่มทางสังคมยังไม่เป็นรูปแบบองค์กรที่ชัดเจนในปัจจุบันการรวมกลุ่มทางสังคมจะเป็นรูปแบบชัดเจนมากขึ้น ในประเด็นการเปลี่ยนแปลงทางด้านวัฒนธรรม พบว่า ลักษณะบ้านและที่อยู่อาศัยในอดีตบ้านพักอาศัยจะเป็นบ้านไม้ทรงไทยส่วนในปัจจุบันบ้านพักอาศัยส่วนใหญ่เป็นครึ่งปูนครึ่งไม้ ผลการศึกษาโดยการประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ประเด็นรูปแบบการใช้ประโยชน์ที่ดิน พบว่า ในปี พ.ศ. 2534 มีพื้นที่เกษตรกรรม มากที่สุด จํานวน 614.66 ไร่ (ร้อยละ 45.75 ของพื้นที่ทั้งหมด) ในปีพ.ศ. 2560 พบว่า มีพื้นที่ว่างมากที่สุด จํานวน 684.40 ไร่ (ร้อยละ 50.94 ของพื้นที่ทั้งหมด) ในประเด็นการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน ระหว่างปี พ.ศ. 2534 ถึง ปี พ.ศ. 2560 มีเพียงพื้นที่เกษตรกรรมที่มีเนื้อที่ลดลงจากเดิมเป็นจํานวนมากถึง 284.19 ไร่ โดยพื้นที่ว่างมีการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินมากที่สุดมีเนื้อที่เพิ่มขึ้นเปนจํานวน 140.32 ไร่ ในประเด็นการคาดการณ์การใช้ประโยชน์ที่ดินในอนาคต พบว่า ระหว่างปี พ.ศ. 2570 ถึง ปี พ.ศ. 2580 พื้นที่อยู่อาศัยมีการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินเพิ่มขึ้นมากที่สุด 107.50 ไร่ ส่วนพื้นที่เกษตรกรรมมีปริมาณเนื้อที่ลดลงมากที่สุด เป็นจํานวน 0.04 ไร่
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. สาขาวิชาสังคมศาสตร์สิ่งแวดล้อม
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. สาขาวิชาสังคมศาสตร์สิ่งแวดล้อม
ธนกฤต หิรัญสาย
สุภาภรณ์ สงค์ประชา
format Article
author ธนกฤต หิรัญสาย
สุภาภรณ์ สงค์ประชา
author_sort ธนกฤต หิรัญสาย
title พลวัตชุมชนพื้นที่สีเขียว ของชุมชนบางน้ําผึ้ง จังหวัดสมุทรปราการ
title_short พลวัตชุมชนพื้นที่สีเขียว ของชุมชนบางน้ําผึ้ง จังหวัดสมุทรปราการ
title_full พลวัตชุมชนพื้นที่สีเขียว ของชุมชนบางน้ําผึ้ง จังหวัดสมุทรปราการ
title_fullStr พลวัตชุมชนพื้นที่สีเขียว ของชุมชนบางน้ําผึ้ง จังหวัดสมุทรปราการ
title_full_unstemmed พลวัตชุมชนพื้นที่สีเขียว ของชุมชนบางน้ําผึ้ง จังหวัดสมุทรปราการ
title_sort พลวัตชุมชนพื้นที่สีเขียว ของชุมชนบางน้ําผึ้ง จังหวัดสมุทรปราการ
publishDate 2022
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/72023
_version_ 1763491728039346176
spelling th-mahidol.720232022-07-05T14:33:40Z พลวัตชุมชนพื้นที่สีเขียว ของชุมชนบางน้ําผึ้ง จังหวัดสมุทรปราการ Green Zone Community Dynamics of the Bang Nam Pheung Community in Samut Prakan ธนกฤต หิรัญสาย สุภาภรณ์ สงค์ประชา มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. สาขาวิชาสังคมศาสตร์สิ่งแวดล้อม การใช้ประโยชน์ที่ดิน การเปลี่ยนแปลง พลวัตชุมชน พื้นที่สีเขียว Land use changes community dynamics green zone การศึกษาพลวัตชุมชนพื้นที่สีเขียว ของชุมชนบางน้ำผึ้ง จังหวัดสมุทรปราการ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางด้านกายภาพ เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมของชุมชน ในพื้นที่ชุมชนบางน้ำผึ้ง จังหวัดสมุทรปราการ ผู้วิจัยใช้ระเบียบวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยเทคนิคการสังเกตการณ์ การสัมภาษณ์เชิงลึก เป็นเครื่องมือในการศึกษากับผู้ที่เกี่ยวข้องทั้ง 3 กลุ่ม จํานวน28 รายผลการศึกษา พบว่า ตําบลบางน้ำผึ้งเป็นส่วนหนึ่งของพื้นที่คุ้งบางกระเจ้าหรือที่เรียกกันว่าเกาะกระเพาะหมู โดยสมัยอดีตพื้นที่บริเวณนี้เป็นพื้นที่สวนผลไม้ทั้งหมด ต่อมาในปี 2520 รัฐบาลมีนโยบายจะอนุรักษ์พื้นที่ในคุ้งบางกระเจ้าโดยการขอซื้อพื้นที่จากคนที่อยู่อาศัยในชุมชน ซึ่งเป็นพื้นที่ของชุมชนบางน้ำผึ้งประมาณ 103 ไร่ และได้รับการแต่งตั้งให้เป็นพื้นที่อนุรักษ์ชนบทและเกษตรกรรมตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา ซึ่งการเปลี่ยนแปลงของชุมชน ในประเด็นการเปลี่ยนแปลงทางด้านกายภาพ พบว่า รูปแบบการตั้งถิ่นฐานเปลี่ยนจากการตั้งถิ่นฐานตามริมคลองมาเป็นริมถนน รูปแบบการใช้ประโยชน์ที่ดินพื้นที่เกษตรกรรมมีจํานวนลดลงและพื้นที่อยู่อาศัยมีจํานวนเพิ่มมากขึ้น ประเด็นการเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจ พบว่า ในอดีตประกอบอาชีพทําสวนและในปัจจุบันเปลี่ยนมาเป็นประกอบอาชีพพนักงานบริษัทและอาชีพค้าขาย การผลิตเปลี่ยนจากใช้วิธีการแบบดั้งเดิมมาใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วย การจําหน่ายเปลี่ยนจากการค้าขายทางน้ำมาเป็นบนบก ในประเด็นการเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคม พบว่า ขนาดครัวเรือนเปลี่ยนจากครอบครัวขยายมาเป็นครอบครัวเดี่ยวมากขึ้น ความเข้มแข็งของชุมชนในอดีตการรวมกลุ่มทางสังคมยังไม่เป็นรูปแบบองค์กรที่ชัดเจนในปัจจุบันการรวมกลุ่มทางสังคมจะเป็นรูปแบบชัดเจนมากขึ้น ในประเด็นการเปลี่ยนแปลงทางด้านวัฒนธรรม พบว่า ลักษณะบ้านและที่อยู่อาศัยในอดีตบ้านพักอาศัยจะเป็นบ้านไม้ทรงไทยส่วนในปัจจุบันบ้านพักอาศัยส่วนใหญ่เป็นครึ่งปูนครึ่งไม้ ผลการศึกษาโดยการประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ประเด็นรูปแบบการใช้ประโยชน์ที่ดิน พบว่า ในปี พ.ศ. 2534 มีพื้นที่เกษตรกรรม มากที่สุด จํานวน 614.66 ไร่ (ร้อยละ 45.75 ของพื้นที่ทั้งหมด) ในปีพ.ศ. 2560 พบว่า มีพื้นที่ว่างมากที่สุด จํานวน 684.40 ไร่ (ร้อยละ 50.94 ของพื้นที่ทั้งหมด) ในประเด็นการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน ระหว่างปี พ.ศ. 2534 ถึง ปี พ.ศ. 2560 มีเพียงพื้นที่เกษตรกรรมที่มีเนื้อที่ลดลงจากเดิมเป็นจํานวนมากถึง 284.19 ไร่ โดยพื้นที่ว่างมีการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินมากที่สุดมีเนื้อที่เพิ่มขึ้นเปนจํานวน 140.32 ไร่ ในประเด็นการคาดการณ์การใช้ประโยชน์ที่ดินในอนาคต พบว่า ระหว่างปี พ.ศ. 2570 ถึง ปี พ.ศ. 2580 พื้นที่อยู่อาศัยมีการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินเพิ่มขึ้นมากที่สุด 107.50 ไร่ ส่วนพื้นที่เกษตรกรรมมีปริมาณเนื้อที่ลดลงมากที่สุด เป็นจํานวน 0.04 ไร่ This study on green zone community dynamics, physical, economic, social and cultural changes and adaptations of the Bang Nam Pheung community in Samut Prakan, was aimed at examining the physical, economic, social and cultural changes of the community in Bang Nam Pheung, Samut Prakan. The researcher used a qualitative research methodology by observing and using in-depth instruments in the study with 28 persons involved in three groups. The findings reveal that Bang Nam Pheung is part of the Kung Bang Krachao area or Koh Krapoh Moo. In the past, this entire area was made up of fruit orchards. In 1977, the government’ s policy was to conserve the Kung Bang Krachao area by purchasing the area from inhabitants in the community. TheBang Nam Pheung community covers an area of 103 rai and was made a rural and agricultural conservation area from that time onward. Concerning the community’ s physical changes, settling models were found to have changed from settling alongside canals to alongside roads with less use of agricultural land and more use of residential areas. In the area of economic changes, the people in the community in the past cultivated orchards, while current community members have changed to work as company employees and vendors. Production has changed from using traditional methods to using technology and distribution changed from trading by water to land. With regard to social changes, more households have changed from extended families to nuclear families. In the area of community strength, social groupings in the past were not clearly organized and now have a clearer model. Concerning cultural changes, housing and residence characteristics in the past were found to be Thai-style wooden houses, while most modern housing is now half-cement and half-wooden buildings.According to the findings from application of geographic information systems on the issue of land utilization models, the area is mostly agricultural land in 1991 with 614.66 rai (45. 75% of the area). In 2017, most of the area was vacant (684. 40 rai (50. 94% of the area). With regard to changes in land utilization from 1991 to 2017, only agricultural land showed a reduction in area size by 284.19 rai. Vacant spaces have had the greatest changes in land utilization with an increase of 140.32 rai. On the issue of future land utilization outlook from 2027 to 2037, residential areas are expected have the greatest increase in land utilization by 107.50 rai while agricultural areas are expected to have the greatest reduction by 0.04 rai. 2022-07-05T07:33:40Z 2022-07-05T07:33:40Z 2565-07-05 2563 Article วารสารสหศาสตร์. ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2563), 131-151 1513-8429 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/72023 tha มหาวิทยาลัยมหิดล สาขาวิชาสังคมศาสตร์สิ่งแวดล้อม คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล