ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ทัศนคติ และพฤติกรรมการให้คำปรึกษาผู้ป่วยเกี่ยวกับการมีกิจกรรมทางกายของพยาบาลวิชาชีพ

การศึกษาครั้งนี้เป็นวิจัยเชิงความสัมพันธ์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ทัศนคติเกี่ยวกับการมีกิจกรรมทางกายและพฤติกรรมการให้คำปรึกษาผู้ป่วยเกี่ยวกับการมีกิจกรรมทางกายของพยาบาลวิชาชีพ กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหน่วยตรวจผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลในสังกัดมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ธัชมน สินสูงสุด, วิทพงศ์ สินสูงสุด, นพวรรณ เปียซื่อ, Thachamon Sinsoongsud, Wittapong Sinsoongsud, Noppawan Piaseu
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
Format: Article
Language:Thai
Published: 2022
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/72069
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.72069
record_format dspace
spelling th-mahidol.720692023-03-31T08:45:44Z ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ทัศนคติ และพฤติกรรมการให้คำปรึกษาผู้ป่วยเกี่ยวกับการมีกิจกรรมทางกายของพยาบาลวิชาชีพ Relationships between Personal Factors, Attitude, and Physical Activity Counseling Behaviors in Professional Nurses ธัชมน สินสูงสุด วิทพงศ์ สินสูงสุด นพวรรณ เปียซื่อ Thachamon Sinsoongsud Wittapong Sinsoongsud Noppawan Piaseu มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี Counseling behaviors Physical activity Nurses พฤติกรรมการให้คำปรึกษา การมีกิจกรรมทางกาย พยาบาล การศึกษาครั้งนี้เป็นวิจัยเชิงความสัมพันธ์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ทัศนคติเกี่ยวกับการมีกิจกรรมทางกายและพฤติกรรมการให้คำปรึกษาผู้ป่วยเกี่ยวกับการมีกิจกรรมทางกายของพยาบาลวิชาชีพ กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหน่วยตรวจผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลในสังกัดมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง จำนวน 74 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามทัศนคติเกี่ยวกับการมีกิจกรรมทางกาย และแบบสอบถามพฤติกรรมการให้คำปรึกษาผู้ป่วยเกี่ยวกับการมีกิจกรรมทางกาย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยายและสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างทั้งหมดเป็นเพศหญิง อายุเฉลี่ย 38.15 ปี ค่ามัะยฐานของประสบการณ์ทำงานเท่ากับ 13 ปี ร้อยละ 50 มีค่าดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์ปกติ และร้อยละ 51.40 ไม่มีโรคประจำตัวคะแนนเฉลี่ยทัศนคติเกี่ยวกับการมีกิจกรรมทางกายอยู่ในระดับสูง แต่พบว่าพฤติกรรมการให้คำปรึกษาผู้ป่วยเกี่ยวกับการมีกิจกรรมทางกายตามการรับรู้ของบพยาบาลอยู่ในระดับต่ำ ความถี่ในการออกกำลังกายมีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการให้คำปรึกษาผู้ป่วยเกี่ยวกับการมีกิจกรรมทางกายอย่างมีนัยสำคัญ ส่วนอายุ ประสบกาณ์ทำงาน ดัชนีมวลกาย และทัศนคติ ไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการให้คำปรึกษาผู้ป่วยเกี่ยวกับการมีกิจกรรมทางกาย ผลวิจัยครั้งนี้เป็นข้อมูลพื้นฐานให้กับผู้ที่เกี่ยวข้องทบทวนขอบเขตภาระงานของพยาบาลให้สอดคล้องกับเป้าหมายของแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติในการให้คำปรึกษาผู้ป่วยนอกของพยาบาลวิชาชีพเกี่ยวกับการมีกิจกรรมทางกาย และควรสนับสนุนให้บุคลากรเพิ่มระดับการมีกิจกรรมทางกายที่มากขึ้น และตระหนักว่าการมีกิจกรรมทางกายเป็นส่วนหนึ่งของการส่งเสริมสุขภาพและการดูแลรักษาผู้รับบริการ This correlational research aimed to examine the relationship between nurses’personal factors, attitude towards physical activity, and physical activity counseling behaviors to their patients. The sample included 74 nurses in the outpatient department in a university hospital. The instruments used in the study were the questionnaires to elicit demographic data, attitude towards physical activity, and physical activity counseling behaviors. Data were analyzed using descriptive statistics and Pearson’s product-moment correlation coefficient. The results revealed that all participants were female with a mean age of 38.15 years and the median of work experience was 13 years. Half of them had normal body mass index (BMI) and had no underlying diseases.The majority of their physical activity behaviors were exercised sometimes. Nurses had an attitude towards physical activity at a high level, but their physical activity counseling behaviors were low. The frequency of exercise was positively associated with counseling behaviors. However, age, work experience, BMI, and attitude were not significantly associated with physical activity counseling behaviors. The results serve as information for the administrators to broaden scopes of nursing practice in line with the goal of the Thai National Health Development Plan. Moreover, employers should support the health promotion program for employees to increase their physical activity level and realize physical activity as part of the health promotion and treatment program for clients. 2022-07-07T04:44:32Z 2022-07-07T04:44:32Z 2565-07-07 2564 Article รามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 27 ฉบับที่ 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2564), 375-387 0858-9739 (Print) 2672-9784 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/72069 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic Counseling behaviors
Physical activity
Nurses
พฤติกรรมการให้คำปรึกษา
การมีกิจกรรมทางกาย
พยาบาล
spellingShingle Counseling behaviors
Physical activity
Nurses
พฤติกรรมการให้คำปรึกษา
การมีกิจกรรมทางกาย
พยาบาล
ธัชมน สินสูงสุด
วิทพงศ์ สินสูงสุด
นพวรรณ เปียซื่อ
Thachamon Sinsoongsud
Wittapong Sinsoongsud
Noppawan Piaseu
ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ทัศนคติ และพฤติกรรมการให้คำปรึกษาผู้ป่วยเกี่ยวกับการมีกิจกรรมทางกายของพยาบาลวิชาชีพ
description การศึกษาครั้งนี้เป็นวิจัยเชิงความสัมพันธ์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ทัศนคติเกี่ยวกับการมีกิจกรรมทางกายและพฤติกรรมการให้คำปรึกษาผู้ป่วยเกี่ยวกับการมีกิจกรรมทางกายของพยาบาลวิชาชีพ กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหน่วยตรวจผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลในสังกัดมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง จำนวน 74 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามทัศนคติเกี่ยวกับการมีกิจกรรมทางกาย และแบบสอบถามพฤติกรรมการให้คำปรึกษาผู้ป่วยเกี่ยวกับการมีกิจกรรมทางกาย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยายและสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างทั้งหมดเป็นเพศหญิง อายุเฉลี่ย 38.15 ปี ค่ามัะยฐานของประสบการณ์ทำงานเท่ากับ 13 ปี ร้อยละ 50 มีค่าดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์ปกติ และร้อยละ 51.40 ไม่มีโรคประจำตัวคะแนนเฉลี่ยทัศนคติเกี่ยวกับการมีกิจกรรมทางกายอยู่ในระดับสูง แต่พบว่าพฤติกรรมการให้คำปรึกษาผู้ป่วยเกี่ยวกับการมีกิจกรรมทางกายตามการรับรู้ของบพยาบาลอยู่ในระดับต่ำ ความถี่ในการออกกำลังกายมีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการให้คำปรึกษาผู้ป่วยเกี่ยวกับการมีกิจกรรมทางกายอย่างมีนัยสำคัญ ส่วนอายุ ประสบกาณ์ทำงาน ดัชนีมวลกาย และทัศนคติ ไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการให้คำปรึกษาผู้ป่วยเกี่ยวกับการมีกิจกรรมทางกาย ผลวิจัยครั้งนี้เป็นข้อมูลพื้นฐานให้กับผู้ที่เกี่ยวข้องทบทวนขอบเขตภาระงานของพยาบาลให้สอดคล้องกับเป้าหมายของแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติในการให้คำปรึกษาผู้ป่วยนอกของพยาบาลวิชาชีพเกี่ยวกับการมีกิจกรรมทางกาย และควรสนับสนุนให้บุคลากรเพิ่มระดับการมีกิจกรรมทางกายที่มากขึ้น และตระหนักว่าการมีกิจกรรมทางกายเป็นส่วนหนึ่งของการส่งเสริมสุขภาพและการดูแลรักษาผู้รับบริการ
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
ธัชมน สินสูงสุด
วิทพงศ์ สินสูงสุด
นพวรรณ เปียซื่อ
Thachamon Sinsoongsud
Wittapong Sinsoongsud
Noppawan Piaseu
format Article
author ธัชมน สินสูงสุด
วิทพงศ์ สินสูงสุด
นพวรรณ เปียซื่อ
Thachamon Sinsoongsud
Wittapong Sinsoongsud
Noppawan Piaseu
author_sort ธัชมน สินสูงสุด
title ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ทัศนคติ และพฤติกรรมการให้คำปรึกษาผู้ป่วยเกี่ยวกับการมีกิจกรรมทางกายของพยาบาลวิชาชีพ
title_short ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ทัศนคติ และพฤติกรรมการให้คำปรึกษาผู้ป่วยเกี่ยวกับการมีกิจกรรมทางกายของพยาบาลวิชาชีพ
title_full ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ทัศนคติ และพฤติกรรมการให้คำปรึกษาผู้ป่วยเกี่ยวกับการมีกิจกรรมทางกายของพยาบาลวิชาชีพ
title_fullStr ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ทัศนคติ และพฤติกรรมการให้คำปรึกษาผู้ป่วยเกี่ยวกับการมีกิจกรรมทางกายของพยาบาลวิชาชีพ
title_full_unstemmed ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ทัศนคติ และพฤติกรรมการให้คำปรึกษาผู้ป่วยเกี่ยวกับการมีกิจกรรมทางกายของพยาบาลวิชาชีพ
title_sort ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ทัศนคติ และพฤติกรรมการให้คำปรึกษาผู้ป่วยเกี่ยวกับการมีกิจกรรมทางกายของพยาบาลวิชาชีพ
publishDate 2022
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/72069
_version_ 1763489152938016768