ผลของโปรแกรมส่งเสริมความรอบรู้ทางสุขภาพและสมรรถนะแห่งตนต่อการช่วยเลิกบุหรี่ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จังหวัดสมุทรสงคราม
อาสาสมัครสาธารณสุขประจําาหมู่บ้าน หรือ อสม. เป็นบุคลากรที่สําาคัญในการควบคุมยาสูบ การพัฒนาความรอบรู้ทางสุขภาพและสมรรถนะแห่งตนในการช่วยเลิกบุหรี่จําาเป็นต้องได้รับการพัฒนา เพื่อส่งเสริมให้ อสม. ช่วยให้ประชาชนเลิกสูบบุหรี่ได้ การวิจัยกึ่งทดลองนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมความรอบร...
Saved in:
Main Authors: | , , , , , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
2022
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/72095 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
Summary: | อาสาสมัครสาธารณสุขประจําาหมู่บ้าน หรือ อสม. เป็นบุคลากรที่สําาคัญในการควบคุมยาสูบ การพัฒนาความรอบรู้ทางสุขภาพและสมรรถนะแห่งตนในการช่วยเลิกบุหรี่จําาเป็นต้องได้รับการพัฒนา เพื่อส่งเสริมให้ อสม. ช่วยให้ประชาชนเลิกสูบบุหรี่ได้ การวิจัยกึ่งทดลองนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมความรอบรู้ทางสุขภาพและสมรรถนะแห่งตนต่อการช่วยเลิกบุหรี่ของ อสม. จังหวัดสมุทรสงคราม กลุ่มตัวอย่างแบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 30 คน ได้รับโปรแกรมการส่งเสริมความรอบรู้ทางสุขภาพและสมรรถนะแห่งตนในการช่วยเลิกบุหรี่ จํานวน 5 สัปดาห์ กลุ่มเปรียบเทียบ จําานวน 30 คน ได้รับเอกสารเกี่ยวกับบุหรี่ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม แบ่งออกเป็น 4 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป ส่วนที่ 2 ความรอบรู้ทางสุขภาพในการช่วยเลิกบุหรี่ โดยค่าความเชื่อมั่น = 0.82 และค่าความตรงเชิงเนื้อหา = 0.90 ส่วนที่ 3 การรับรู้ความสามารถของตนเองในการช่วยเลิกบุหรี่ โดยมีค่าความเชื่อมั่น = 0.82 และค่าความตรงเชิงเนื้อหา = 0.90 และส่วนที่ 4 พฤติกรรรมการช่วยเลิกบุหรี่ โดยมีค่าความเชื่อมั่น = 0.74 และค่าความตรงเชิงเนื้อหา = 0.90 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ Paired t-test และ Independent t-test ผลการวิจัยพบว่า เมื่อสิ้นสุดกิจกรรม กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความรู้ ความเข้าใจการเข้าถึงข้อมูล การสื่อสาร การตัดสินใจ การจัดการตนเอง การรู้เท่าทันสื่อ การรับรู้ความสามารถของตนเอง และพฤติกรรมการช่วยเลิกบุหรี่สูงกว่าก่อนการทดลอง และกลุ่มเปรียบเทียบ อย่างมีนัยสําาคัญทางสถิติ (p < 0.05) โปรแกรมส่งเสริมความรอบรู้ทางสุขภาพและสมรรถนะแห่งตนสามารถส่งเสริมพฤติกรรมการช่วยเลิกบุหรี่ของอสม. ได้ |
---|