การดูแลหญิงหลังคลอดด้วยการแพทย์พื้นบ้านไทยในจังหวัดนครศรีธรรมราช

หญิงหลังคลอดจำเป็นต้องได้รับการดูแลเพื่อฟื้นฟูสุขภาพให้กลับสู่ภาวะปกติโดยการปฏิบัติอย่างถูกต้องและสอดคล้องกับวัฒนธรรมชุมชนและภูมิปัญญาท้องถิ่น การวิจัยเชิงพรรณนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายการดูแลหญิงหลังคลอดด้วยการแพทย์พื้นบ้านไทยในจังหวัดนครศรีธรรมราช ด้วยรูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างคือห...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: สายฝน สกุลผอม, ประศักดิ์ สันติภาพ, วัฒนา ชยธวัช, รัชนี จันทร์เกษ, ทัศนีย์ ศิลาวรรณ
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาอนามัยชุมชน
Format: Article
Language:Thai
Published: 2022
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/72142
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.72142
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic การแพทย์พื้นบ้านไทย
การดูแลหญิงหลังคลอด
จังหวัดนครศรีธรรมราช
spellingShingle การแพทย์พื้นบ้านไทย
การดูแลหญิงหลังคลอด
จังหวัดนครศรีธรรมราช
สายฝน สกุลผอม
ประศักดิ์ สันติภาพ
วัฒนา ชยธวัช
รัชนี จันทร์เกษ
ทัศนีย์ ศิลาวรรณ
การดูแลหญิงหลังคลอดด้วยการแพทย์พื้นบ้านไทยในจังหวัดนครศรีธรรมราช
description หญิงหลังคลอดจำเป็นต้องได้รับการดูแลเพื่อฟื้นฟูสุขภาพให้กลับสู่ภาวะปกติโดยการปฏิบัติอย่างถูกต้องและสอดคล้องกับวัฒนธรรมชุมชนและภูมิปัญญาท้องถิ่น การวิจัยเชิงพรรณนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายการดูแลหญิงหลังคลอดด้วยการแพทย์พื้นบ้านไทยในจังหวัดนครศรีธรรมราช ด้วยรูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างคือหญิงหลังคลอดในจังหวัดนครศรีธรรมราช จำนวน 8 คน หมอพื้นบ้านไทยในจังหวัดนครศรีธรรมราช จำนวน 4 คน และผู้เชี่ยวชาญที่ปฏิบัติงานด้านการดูแลหญิงหลังคลอดด้วยการแพทย์พื้นบ้านไทย จำนวน 7 คน เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหาและพรรณนาด้วยความเรียง ผลการวิจัยพบว่า ในจังหวัดนครศรีธรรมราชหญิงหลังคลอดได้รับการดูแลด้วยการอยู่ไฟ โดยมีการประยุกต์จากอดีตที่ให้หญิงหลังคลอดนอนบนแคร่ที่ก่อไฟด้านล่างร่วมกับการใช้ก้อนเส้า แต่ปัจจุบันเปลี่ยนเป็นใช้ลูกประคบสมุนไพรแทน หญิงหลังคลอด 7 คน ระบุว่าตัดสินใจอยู่ไฟเพราะเชื่อว่าช่วยให้ร่างกายกลับสู่สภาพปกติและหลังจากอยู่ไฟแล้วทุกคนระบุว่าอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อลดลงและมีความพึงพอใจ ส่วนการนวดในหญิงหลังคลอดนั้นในอดีตใช้การเหยียบสุ่ม คือ การใช้เท้าเหยียบบริเวณกล้ามเนื้อมัดใหญ่ และการนวดแต่งกุน (มดลูก) ในขณะที่หมอพื้นบ้านไทยรุ่นใหม่ประยุกต์ใช้การจัดกระดูกผสมผสานกับการนวด หญิงหลังคลอดทุกคนได้รับการนวดและระบุว่านวดแล้วร่างกายดีขึ้นและอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อลดลง หญิงหลังคลอด 3 คนได้รับการประคบสมุนไพรและทุกคนระบุว่าช่วยลดอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ช่วยให้ผ่อนคลาย และเป็นการบำรุงผิวพรรณ นอกจากนี้ มีการส่งเสริมสุขภาพหญิงหลังคลอดโดยการให้คำแนะนาเรื่องการรับประทานอาหาร เช่น อาหารรสร้อน หรืองดของแสลง เช่น อาหารรสเย็นหรือผักมีกลิ่น และไม่พบหญิงหลังคลอดที่รับประทานยาสมุนไพรเพื่อการดูแลหลังคลอด
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาอนามัยชุมชน
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาอนามัยชุมชน
สายฝน สกุลผอม
ประศักดิ์ สันติภาพ
วัฒนา ชยธวัช
รัชนี จันทร์เกษ
ทัศนีย์ ศิลาวรรณ
format Article
author สายฝน สกุลผอม
ประศักดิ์ สันติภาพ
วัฒนา ชยธวัช
รัชนี จันทร์เกษ
ทัศนีย์ ศิลาวรรณ
author_sort สายฝน สกุลผอม
title การดูแลหญิงหลังคลอดด้วยการแพทย์พื้นบ้านไทยในจังหวัดนครศรีธรรมราช
title_short การดูแลหญิงหลังคลอดด้วยการแพทย์พื้นบ้านไทยในจังหวัดนครศรีธรรมราช
title_full การดูแลหญิงหลังคลอดด้วยการแพทย์พื้นบ้านไทยในจังหวัดนครศรีธรรมราช
title_fullStr การดูแลหญิงหลังคลอดด้วยการแพทย์พื้นบ้านไทยในจังหวัดนครศรีธรรมราช
title_full_unstemmed การดูแลหญิงหลังคลอดด้วยการแพทย์พื้นบ้านไทยในจังหวัดนครศรีธรรมราช
title_sort การดูแลหญิงหลังคลอดด้วยการแพทย์พื้นบ้านไทยในจังหวัดนครศรีธรรมราช
publishDate 2022
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/72142
_version_ 1764209847888248832
spelling th-mahidol.721422023-03-31T12:17:54Z การดูแลหญิงหลังคลอดด้วยการแพทย์พื้นบ้านไทยในจังหวัดนครศรีธรรมราช Thai Folk Medicine for Postpartum Care in Nakhon Si Thammarat Province สายฝน สกุลผอม ประศักดิ์ สันติภาพ วัฒนา ชยธวัช รัชนี จันทร์เกษ ทัศนีย์ ศิลาวรรณ มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาอนามัยชุมชน มหาวิทยาลัยปทุมธานี. คณะสาธารณสุขศาสตร์และสิ่งแวดล้อม กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก. สานักข้อมูลและคลังความรู้ การแพทย์พื้นบ้านไทย การดูแลหญิงหลังคลอด จังหวัดนครศรีธรรมราช หญิงหลังคลอดจำเป็นต้องได้รับการดูแลเพื่อฟื้นฟูสุขภาพให้กลับสู่ภาวะปกติโดยการปฏิบัติอย่างถูกต้องและสอดคล้องกับวัฒนธรรมชุมชนและภูมิปัญญาท้องถิ่น การวิจัยเชิงพรรณนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายการดูแลหญิงหลังคลอดด้วยการแพทย์พื้นบ้านไทยในจังหวัดนครศรีธรรมราช ด้วยรูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างคือหญิงหลังคลอดในจังหวัดนครศรีธรรมราช จำนวน 8 คน หมอพื้นบ้านไทยในจังหวัดนครศรีธรรมราช จำนวน 4 คน และผู้เชี่ยวชาญที่ปฏิบัติงานด้านการดูแลหญิงหลังคลอดด้วยการแพทย์พื้นบ้านไทย จำนวน 7 คน เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหาและพรรณนาด้วยความเรียง ผลการวิจัยพบว่า ในจังหวัดนครศรีธรรมราชหญิงหลังคลอดได้รับการดูแลด้วยการอยู่ไฟ โดยมีการประยุกต์จากอดีตที่ให้หญิงหลังคลอดนอนบนแคร่ที่ก่อไฟด้านล่างร่วมกับการใช้ก้อนเส้า แต่ปัจจุบันเปลี่ยนเป็นใช้ลูกประคบสมุนไพรแทน หญิงหลังคลอด 7 คน ระบุว่าตัดสินใจอยู่ไฟเพราะเชื่อว่าช่วยให้ร่างกายกลับสู่สภาพปกติและหลังจากอยู่ไฟแล้วทุกคนระบุว่าอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อลดลงและมีความพึงพอใจ ส่วนการนวดในหญิงหลังคลอดนั้นในอดีตใช้การเหยียบสุ่ม คือ การใช้เท้าเหยียบบริเวณกล้ามเนื้อมัดใหญ่ และการนวดแต่งกุน (มดลูก) ในขณะที่หมอพื้นบ้านไทยรุ่นใหม่ประยุกต์ใช้การจัดกระดูกผสมผสานกับการนวด หญิงหลังคลอดทุกคนได้รับการนวดและระบุว่านวดแล้วร่างกายดีขึ้นและอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อลดลง หญิงหลังคลอด 3 คนได้รับการประคบสมุนไพรและทุกคนระบุว่าช่วยลดอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ช่วยให้ผ่อนคลาย และเป็นการบำรุงผิวพรรณ นอกจากนี้ มีการส่งเสริมสุขภาพหญิงหลังคลอดโดยการให้คำแนะนาเรื่องการรับประทานอาหาร เช่น อาหารรสร้อน หรืองดของแสลง เช่น อาหารรสเย็นหรือผักมีกลิ่น และไม่พบหญิงหลังคลอดที่รับประทานยาสมุนไพรเพื่อการดูแลหลังคลอด Postpartum women need to be taken care of to restore their health to the normal stage by performing correctly and in line with local culture and local wisdom. This descriptive research aimed to explain the care of postpartum women with Thai folk medicine in Nakhon Si Thammarat Province using qualitative research. The samples consisted of eight postpartum women, four Thai folk medicine practitioners, and seven experts working in postpartum care using Thai folk medicine. Data were collected using in-depth interviews and analyzed by content analysis and essay writing. The results showed that in Nakhon Si Thammarat province, postpartum women were cared by the fire with application from the past that the postpartum women laid on a bed created a fire below together with the use of a warm stone, but now changed to using herbal hot compress instead of warm stones. Seven of them decided to stay on fire because they believed it helped their body to return to the normal stage, and after staying on fire, everyone stated that their muscles pain decreased and satisfied. For massage in postpartum women, in the past the massage was done by random stepping on the large muscles and uterus, meanwhile, a new generation of Thai folk medicine practitioners applied a combination of orthopedic methods and massage. All postpartum women got massage and indicated that their bodies were better, and the pain was reduced. Three of them received herbal compress, and everyone stated that it helped reduce muscle aches, relaxes, and nourishes the skin. Besides, there was a health promotion in postpartum women by giving dietary advice such as hot food or injurious food, such as cold food or fragrant vegetables. And there was no postpartum woman who took herbal medicine for postpartum care. 2022-07-14T15:35:17Z 2022-07-14T15:35:17Z 2565-07-14 2563 Research Article วารสารสุขศึกษา. ปีที่ 43, ฉบับที่ 2 (ก.ค.- ธ.ค. 2563), 107-118 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/72142 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf