วิธีการบำบัดทางดนตรี: การวิเคราะห์เนื้อหาจากงานวิจัย
การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์เนื้อหาด้านวิธีการบำบัดทางดนตรีจากงานวิจัยทางดนตรีบำบัดในประเทศไทย งานวิจัยที่นำมาวิเคราะห์มีจำนวนทั้งหมด 65 เรื่อง เป็นงานวิจัยที่เผยแพร่ในช่วงปี พ.ศ. 2528 – 2553 จากสถาบันการศึกษา 5 แห่ง ได้แก่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยศรีนคริน...
Saved in:
Main Authors: | , , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
2022
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/72192 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.72192 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-mahidol.721922023-03-31T10:27:26Z วิธีการบำบัดทางดนตรี: การวิเคราะห์เนื้อหาจากงานวิจัย Music Therapy Interventions: A Content Analysis of Research นัทธี เชียงชะนา สมชัย ตระการรุ่ง Natee Chiengchana Somchai Trakranrung มหาวิทยาลัยมหิดล. วิทยาลัยดุริยางคศิลป์. สาขาวิชาดนตรีศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล. วิทยาลัยราชสุดา. ภาควิชาหูหนวกศึกษา วิธีการบำบัดทางดนตรี ดนตรีบำบัด การสังเคราะห์งานวิจัย การวิเคราะห์เนื้อหา music therapy interventions music therapy research synthesis content analysis การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์เนื้อหาด้านวิธีการบำบัดทางดนตรีจากงานวิจัยทางดนตรีบำบัดในประเทศไทย งานวิจัยที่นำมาวิเคราะห์มีจำนวนทั้งหมด 65 เรื่อง เป็นงานวิจัยที่เผยแพร่ในช่วงปี พ.ศ. 2528 – 2553 จากสถาบันการศึกษา 5 แห่ง ได้แก่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมหาวิทยาลัยขอนแก่น เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบบันทึกสาระด้านวิธีการบำบัดทางดนตรี จากนั้นทำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา โดยใช้สถิติเชิงบรรยาย เพื่อจำแนกและจัดหมวดหมู่สาระจากงานวิจัย ผลการสังเคราะห์งานวิจัย พบว่า รูปแบบวิธีการบำบัดทางดนตรีที่ใช้มากที่สุด คือ กิจกรรมการฟังดนตรี (ร้อยละ 55.4) รองลงมาคือ กิจกรรมดนตรีที่หลากหลาย ซึ่งรวมถึงกิจกรรมการฟัง การร้องเพลง การเล่นเครื่องดนตรี การเคลื่อนไหว และการสร้างสรรค์ (ร้อยละ 10.8) กิจกรรมดนตรีดังกล่าวใช้บำบัดผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัดมากที่สุด (ร้อยละ 23.1) โดยส่วนใหญ่เน้นองค์ประกอบดนตรีด้านอัตราจังหวะเป็นหลักในการบำบัด (ร้อยละ 13.8) สำหรับทักษะดนตรีที่ใช้มากที่สุดในการบำบัดคือ ทักษะการฟัง (ร้อยละ 67.7) โดยส่วนใหญ่เป็นการฟังผ่านดนตรีบันทึก (ร้อยละ 70.8) ซึ่งมีเป้าหมายเพื่อบำบัดความเจ็บปวดมากที่สุด (ร้อยละ 20) รองลงมาใช้ลดความวิตกกังวล (ร้อยละ 16.9) ในด้านการสรุปผลที่ได้จากการบำบัดทางดนตรี พบว่า ผลการวิจัยส่วนใหญ่มีความสอดคล้องและเป็นไปตามวัตถุประสงค์และสมมติฐานการวิจัย (ร้อยละ 69.2) แสดงให้เห็นว่าดนตรีมีประสิทธิผลต่อการบำบัดและการส่งเสริมสุขภาพ The purpose of this study was to analyze music therapy interventions from music therapy research in Thailand. There were 65 research reports in the fi eld of music therapy published during 1985-2010 from fi ve universities in Thailand, including Chulalongkorn University, Mahidol University, Srinakarinwirot University, Chiang Mai University, and Khon Kaen University. Coding form of music therapy interventions was used as research instruments to collect the data from the research reports. Content analysis with descriptive statistics was employed to analyze and describe the research fi ndings. The results of content analysis from 65 research reports revealed that listening activity was used most in music therapy interventions (55.4%), followed by various music activities, including listening, singing, playing instruments, moving to music and creating in music (10.8%). Most interventions were used to treat surgical patients (23.1%), focusing on tempo as the main music element used most in the music interventions (13.8%). In terms of music skill, listening skill was employed most in the music interventions (67.7%) by using recorded music (70.8%) to alleviate pain (20%) and anxiety (16.9%). For the fi ndings of research reports in music therapy, most fi ndings supported the purpose and hypothesis of the studies (69.2%) that showed the effectiveness of music in therapy and health care. 2022-07-20T04:18:46Z 2022-07-20T04:18:46Z 2565-07-20 2558 Article วารสารสาธารณสุขศาสตร์. ปีที่ 45, ฉบับที่ 2 (พ.ค.-ส.ค. 2558), 116-133 2697-584X (Print) 2697-5866 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/72192 tha มหาวิทยาลัยมหิดล สาขาวิชาดนตรีศึกษา วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล ภาควิชาหูหนวกศึกษา วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
วิธีการบำบัดทางดนตรี ดนตรีบำบัด การสังเคราะห์งานวิจัย การวิเคราะห์เนื้อหา music therapy interventions music therapy research synthesis content analysis |
spellingShingle |
วิธีการบำบัดทางดนตรี ดนตรีบำบัด การสังเคราะห์งานวิจัย การวิเคราะห์เนื้อหา music therapy interventions music therapy research synthesis content analysis นัทธี เชียงชะนา สมชัย ตระการรุ่ง Natee Chiengchana Somchai Trakranrung วิธีการบำบัดทางดนตรี: การวิเคราะห์เนื้อหาจากงานวิจัย |
description |
การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์เนื้อหาด้านวิธีการบำบัดทางดนตรีจากงานวิจัยทางดนตรีบำบัดในประเทศไทย งานวิจัยที่นำมาวิเคราะห์มีจำนวนทั้งหมด 65 เรื่อง เป็นงานวิจัยที่เผยแพร่ในช่วงปี พ.ศ. 2528 – 2553 จากสถาบันการศึกษา 5 แห่ง ได้แก่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมหาวิทยาลัยขอนแก่น เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบบันทึกสาระด้านวิธีการบำบัดทางดนตรี จากนั้นทำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา โดยใช้สถิติเชิงบรรยาย เพื่อจำแนกและจัดหมวดหมู่สาระจากงานวิจัย ผลการสังเคราะห์งานวิจัย พบว่า รูปแบบวิธีการบำบัดทางดนตรีที่ใช้มากที่สุด คือ กิจกรรมการฟังดนตรี (ร้อยละ 55.4) รองลงมาคือ กิจกรรมดนตรีที่หลากหลาย ซึ่งรวมถึงกิจกรรมการฟัง การร้องเพลง การเล่นเครื่องดนตรี การเคลื่อนไหว และการสร้างสรรค์ (ร้อยละ 10.8) กิจกรรมดนตรีดังกล่าวใช้บำบัดผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัดมากที่สุด (ร้อยละ 23.1) โดยส่วนใหญ่เน้นองค์ประกอบดนตรีด้านอัตราจังหวะเป็นหลักในการบำบัด (ร้อยละ 13.8) สำหรับทักษะดนตรีที่ใช้มากที่สุดในการบำบัดคือ ทักษะการฟัง (ร้อยละ 67.7) โดยส่วนใหญ่เป็นการฟังผ่านดนตรีบันทึก (ร้อยละ 70.8) ซึ่งมีเป้าหมายเพื่อบำบัดความเจ็บปวดมากที่สุด (ร้อยละ 20) รองลงมาใช้ลดความวิตกกังวล (ร้อยละ 16.9) ในด้านการสรุปผลที่ได้จากการบำบัดทางดนตรี พบว่า ผลการวิจัยส่วนใหญ่มีความสอดคล้องและเป็นไปตามวัตถุประสงค์และสมมติฐานการวิจัย (ร้อยละ 69.2) แสดงให้เห็นว่าดนตรีมีประสิทธิผลต่อการบำบัดและการส่งเสริมสุขภาพ |
author2 |
มหาวิทยาลัยมหิดล. วิทยาลัยดุริยางคศิลป์. สาขาวิชาดนตรีศึกษา |
author_facet |
มหาวิทยาลัยมหิดล. วิทยาลัยดุริยางคศิลป์. สาขาวิชาดนตรีศึกษา นัทธี เชียงชะนา สมชัย ตระการรุ่ง Natee Chiengchana Somchai Trakranrung |
format |
Article |
author |
นัทธี เชียงชะนา สมชัย ตระการรุ่ง Natee Chiengchana Somchai Trakranrung |
author_sort |
นัทธี เชียงชะนา |
title |
วิธีการบำบัดทางดนตรี: การวิเคราะห์เนื้อหาจากงานวิจัย |
title_short |
วิธีการบำบัดทางดนตรี: การวิเคราะห์เนื้อหาจากงานวิจัย |
title_full |
วิธีการบำบัดทางดนตรี: การวิเคราะห์เนื้อหาจากงานวิจัย |
title_fullStr |
วิธีการบำบัดทางดนตรี: การวิเคราะห์เนื้อหาจากงานวิจัย |
title_full_unstemmed |
วิธีการบำบัดทางดนตรี: การวิเคราะห์เนื้อหาจากงานวิจัย |
title_sort |
วิธีการบำบัดทางดนตรี: การวิเคราะห์เนื้อหาจากงานวิจัย |
publishDate |
2022 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/72192 |
_version_ |
1764209795918725120 |