นวัตกรรมในคลินิกเบาหวาน: หุ่นช่วยสอนฉีดอินสุลิน

บทนำ:การสอนฉีดอินซูลิน มีความสำคัญในการดูแล ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด วัตถุประสงค์: เพื่อนำเสนอกระบวนการพัฒนานวัตกรรมหุ่นช่วยสอนฉีดอินซูลิน วิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่างที่นำไปทดลองใช้เป็นผู้ป่วยเบาหวานคลินิกเบาหวาน โรงพยาบาลรามาธิบดี ได้รับการสอนฉีดอินซูลินครั้งแรก แบ่งเป็น กลุ่มทดลอง (ใช้หุ่นจำลองห...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: น้ำเพชร สายบัวทอง, รัตนาภรณ์ จีระวัฒนะ, ธราธิป พุ่มกำพล, สายสุนีย์ ทับทิมเทศ, Nampeth Saibuathong, Rattanaporn Jeerawatana, Taratip Pumkompol, Saisunee Tubtimtes
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ฝ่ายการพยาบาล
Format: Article
Language:Thai
Published: 2022
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/72207
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.72207
record_format dspace
spelling th-mahidol.722072023-03-30T11:20:35Z นวัตกรรมในคลินิกเบาหวาน: หุ่นช่วยสอนฉีดอินสุลิน Innovation in Diabetes Clinic: Insulin Injection Teaching Aid น้ำเพชร สายบัวทอง รัตนาภรณ์ จีระวัฒนะ ธราธิป พุ่มกำพล สายสุนีย์ ทับทิมเทศ Nampeth Saibuathong Rattanaporn Jeerawatana Taratip Pumkompol Saisunee Tubtimtes มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ฝ่ายการพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัว เบาหวาน อินซูลิน หุ่นช่วยสอนฉีด หุ่นจำลองหน้าท้อง Diabetes mellitus Insulin Injection teaching model Abdomen model บทนำ:การสอนฉีดอินซูลิน มีความสำคัญในการดูแล ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด วัตถุประสงค์: เพื่อนำเสนอกระบวนการพัฒนานวัตกรรมหุ่นช่วยสอนฉีดอินซูลิน วิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่างที่นำไปทดลองใช้เป็นผู้ป่วยเบาหวานคลินิกเบาหวาน โรงพยาบาลรามาธิบดี ได้รับการสอนฉีดอินซูลินครั้งแรก แบ่งเป็น กลุ่มทดลอง (ใช้หุ่นจำลองหน้าท้อง) และกลุ่มควบคุม (ไม่ใช้หุ่นจำลองหน้าท้อง) กลุ่มละจำนวน 35 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบประเมินคือ 1) แบบสังเกตการฉีดอินซูลิน 2) แบบประเมินตนเองของผู้ป่วยเกี่ยวกับความเข้าใจและทักษะการฉีดอินซูลิน และ 3) แบบประเมินผลสัมฤทธิ์การใช้หุ่นจำลองหน้าท้อง ผลการศึกษา: ผู้ป่วยที่ใช้หุ่นจำลองพบว่า ช่วยให้เข้าใจวิธีฉีดยาเพิ่มมากขึ้น รวมถึงด้านทักษะการฉีดยาและด้านความมั่นใจระดับมากถึงมากที่สุด จำนวนมากกว่าร้อยละ 97 ยกเว้นด้านความรู้สึกกลัวพบว่า กลัวเข็มฉีด จำนวนน้อยลงร้อยละ 70.2 และกลัวเจ็บน้อยลงร้อยละ 82.8 ดังนั้น การสอนโดยใช้หุ่นช่วยสอนฉีดอินซูลินเพิ่มผลสัมฤทธิ์การสอน เพิ่มทักษะที่ถูกต้อง และมีความรู้ความเข้าใจเทคนิคการฉีดอินซูลินได้ถูกต้องมากขึ้น สรุป: ปัจจุบันหุ่นช่วยสอนฉีดอินซูลินเป็นผลิตภัณฑ์จำหน่ายที่ศูนย์พัฒนานวัตกรรมทางการแพทย์ ภายใต้ศูนย์ความเป็นเลิศ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล และใช้เป็นอุปกรณ์สอนฉีดอินซูลินที่คลินิกเบาหวาน หน่วยตรวจผู้ป่วยนอกอายุรกรรม Background: Insulin injection education is important in diabetes mellitus patients’ treatment in order to control blood glucose levels. Objective: To present a new innovative teaching method for insulin injection. Methods: Samples included diabetes patients, who were taught the first insulin injection at the diabetes clinic, Ramathibodi Hospital. They were divided into 2 groups (35 patients in each group): the experimental group was taught by the abdomen model for injections, and the control group was instructed by a traditional lecture style. Three evaluation forms were used: 1) injection observation sheet; 2) self-evaluation sheet of understanding and injection skill of the diabetes patients; and 3) evaluate efficiency form of teaching insulin injection model. Results: The study revealed that the experimental group understood injection methods both in terms of injection skills and confidence in self-injection at more than 97% except for fear. The study found that trypanophobia decreased 70.2% and fear of pain reduced 82.8%. The abdomen model teaching method yielded effective results to increase injection skills, knowledge, and understanding of self-injection. Conclusions: This abdomen model is now used to teach insulin injection as a commercial product sold at the Center of Excellent Innovation, Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital, Mahidol University. This model is currently used as one of the medical tools for teaching insulin injection at the diabetes mellitus clinic of the medical outpatient unit of Ramathibodi Hospital. 2022-07-21T07:27:26Z 2022-07-21T07:27:26Z 2565-07-21 2564 Article รามาธิบดีเวชสาร. ปีที่ 44, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มี.ค. 2564), 46-52 0125-3611 (Print) 2651-0561 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/72207 tha มหาวิทยาลัยมหิดล ฝ่ายการพยาบาลโรงพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัว คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic เบาหวาน
อินซูลิน
หุ่นช่วยสอนฉีด
หุ่นจำลองหน้าท้อง
Diabetes mellitus
Insulin
Injection teaching model
Abdomen model
spellingShingle เบาหวาน
อินซูลิน
หุ่นช่วยสอนฉีด
หุ่นจำลองหน้าท้อง
Diabetes mellitus
Insulin
Injection teaching model
Abdomen model
น้ำเพชร สายบัวทอง
รัตนาภรณ์ จีระวัฒนะ
ธราธิป พุ่มกำพล
สายสุนีย์ ทับทิมเทศ
Nampeth Saibuathong
Rattanaporn Jeerawatana
Taratip Pumkompol
Saisunee Tubtimtes
นวัตกรรมในคลินิกเบาหวาน: หุ่นช่วยสอนฉีดอินสุลิน
description บทนำ:การสอนฉีดอินซูลิน มีความสำคัญในการดูแล ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด วัตถุประสงค์: เพื่อนำเสนอกระบวนการพัฒนานวัตกรรมหุ่นช่วยสอนฉีดอินซูลิน วิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่างที่นำไปทดลองใช้เป็นผู้ป่วยเบาหวานคลินิกเบาหวาน โรงพยาบาลรามาธิบดี ได้รับการสอนฉีดอินซูลินครั้งแรก แบ่งเป็น กลุ่มทดลอง (ใช้หุ่นจำลองหน้าท้อง) และกลุ่มควบคุม (ไม่ใช้หุ่นจำลองหน้าท้อง) กลุ่มละจำนวน 35 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบประเมินคือ 1) แบบสังเกตการฉีดอินซูลิน 2) แบบประเมินตนเองของผู้ป่วยเกี่ยวกับความเข้าใจและทักษะการฉีดอินซูลิน และ 3) แบบประเมินผลสัมฤทธิ์การใช้หุ่นจำลองหน้าท้อง ผลการศึกษา: ผู้ป่วยที่ใช้หุ่นจำลองพบว่า ช่วยให้เข้าใจวิธีฉีดยาเพิ่มมากขึ้น รวมถึงด้านทักษะการฉีดยาและด้านความมั่นใจระดับมากถึงมากที่สุด จำนวนมากกว่าร้อยละ 97 ยกเว้นด้านความรู้สึกกลัวพบว่า กลัวเข็มฉีด จำนวนน้อยลงร้อยละ 70.2 และกลัวเจ็บน้อยลงร้อยละ 82.8 ดังนั้น การสอนโดยใช้หุ่นช่วยสอนฉีดอินซูลินเพิ่มผลสัมฤทธิ์การสอน เพิ่มทักษะที่ถูกต้อง และมีความรู้ความเข้าใจเทคนิคการฉีดอินซูลินได้ถูกต้องมากขึ้น สรุป: ปัจจุบันหุ่นช่วยสอนฉีดอินซูลินเป็นผลิตภัณฑ์จำหน่ายที่ศูนย์พัฒนานวัตกรรมทางการแพทย์ ภายใต้ศูนย์ความเป็นเลิศ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล และใช้เป็นอุปกรณ์สอนฉีดอินซูลินที่คลินิกเบาหวาน หน่วยตรวจผู้ป่วยนอกอายุรกรรม
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ฝ่ายการพยาบาล
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ฝ่ายการพยาบาล
น้ำเพชร สายบัวทอง
รัตนาภรณ์ จีระวัฒนะ
ธราธิป พุ่มกำพล
สายสุนีย์ ทับทิมเทศ
Nampeth Saibuathong
Rattanaporn Jeerawatana
Taratip Pumkompol
Saisunee Tubtimtes
format Article
author น้ำเพชร สายบัวทอง
รัตนาภรณ์ จีระวัฒนะ
ธราธิป พุ่มกำพล
สายสุนีย์ ทับทิมเทศ
Nampeth Saibuathong
Rattanaporn Jeerawatana
Taratip Pumkompol
Saisunee Tubtimtes
author_sort น้ำเพชร สายบัวทอง
title นวัตกรรมในคลินิกเบาหวาน: หุ่นช่วยสอนฉีดอินสุลิน
title_short นวัตกรรมในคลินิกเบาหวาน: หุ่นช่วยสอนฉีดอินสุลิน
title_full นวัตกรรมในคลินิกเบาหวาน: หุ่นช่วยสอนฉีดอินสุลิน
title_fullStr นวัตกรรมในคลินิกเบาหวาน: หุ่นช่วยสอนฉีดอินสุลิน
title_full_unstemmed นวัตกรรมในคลินิกเบาหวาน: หุ่นช่วยสอนฉีดอินสุลิน
title_sort นวัตกรรมในคลินิกเบาหวาน: หุ่นช่วยสอนฉีดอินสุลิน
publishDate 2022
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/72207
_version_ 1763490394376503296