การใช้สมุดบันทึกประจำตัวผู้สูงอายุเพื่อช่วยในการส่งเสริมสุขภาพเพิ่มพูนความรู้และทัศนคติที่ดีในการป้องกันการหกล้ม

บทนำ: การส่งเสริมสุขภาพในผู้สูงอายุอย่างรอบด้านเพื่อป้องกันการหกล้มเป็นสิ่งที่ควรปฏิบัติอย่างยิ่งในระบบการบริการปฐมภูมิ ปัจจุบันมีการใช้สมุดคู่มือส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุซึ่งจัดทำโดยกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข พบว่า เป็นปัจจัยเชิงบวกที่สำคัญต่อการที่ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ วัตถุประสงค์:...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ศิริพร ข่องแรง, จิตติมา บุญเกิด, สุนทราภรณ์ พิพัทธกุศลกุล, กรองทอง พุฒิโภคิน, Siriporn Khongrang, Chitima Boongird, Soontraporn Phiphadthakusolkul, Krongtong Putthipokin
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทย์ศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. กลุ่มงานพยาบาล
Format: Original Article
Language:Thai
Published: 2022
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/72249
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.72249
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic การป้องกันการหกล้ม
โรงพยาบาล
ผู้สูงอายุ
การส่งเสริมสุขภาพ
สมุดบันทึก
Fall prevention
Hospital
Elderly
Health promotion
Self-health records
spellingShingle การป้องกันการหกล้ม
โรงพยาบาล
ผู้สูงอายุ
การส่งเสริมสุขภาพ
สมุดบันทึก
Fall prevention
Hospital
Elderly
Health promotion
Self-health records
ศิริพร ข่องแรง
จิตติมา บุญเกิด
สุนทราภรณ์ พิพัทธกุศลกุล
กรองทอง พุฒิโภคิน
Siriporn Khongrang
Chitima Boongird
Soontraporn Phiphadthakusolkul
Krongtong Putthipokin
การใช้สมุดบันทึกประจำตัวผู้สูงอายุเพื่อช่วยในการส่งเสริมสุขภาพเพิ่มพูนความรู้และทัศนคติที่ดีในการป้องกันการหกล้ม
description บทนำ: การส่งเสริมสุขภาพในผู้สูงอายุอย่างรอบด้านเพื่อป้องกันการหกล้มเป็นสิ่งที่ควรปฏิบัติอย่างยิ่งในระบบการบริการปฐมภูมิ ปัจจุบันมีการใช้สมุดคู่มือส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุซึ่งจัดทำโดยกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข พบว่า เป็นปัจจัยเชิงบวกที่สำคัญต่อการที่ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ วัตถุประสงค์: เพื่อเปรียบเทียบความรู้และทัศนคติของผู้สูงอายุและผู้ดูแลก่อนและหลังการได้รับการส่งเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันการหกล้มโดยการให้คำแนะนำจากบุคลากรทางการแพทย์ประกอบกับการใช้สมุดบันทึกประจำตัว วิธีการศึกษา: การศึกษาเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ โดยการศึกษาเชิงปริมาณใช้แบบสอบถามสัมภาษณ์ผู้สูงอายุ จำนวน 143 คน และผู้ดูแล จำนวน 42 คน ก่อนและหลังการได้รับการส่งเสริมสุขภาพดังกล่าว สำหรับการศึกษาเชิงคุณภาพโดยการให้ผู้สูงอายุ จำนวน 106 คน และผู้ดูแล จำนวน 29 คน ตอบคำถามปลายเปิดเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการมีสมุดบันทึกประจำตัว และข้อจำกัด ภายหลังได้ใช้สมุดไปแล้ว 6 เดือนขึ้นไป ผลการศึกษา: ความรู้และทัศนคติในการดูแลสุขภาพเพิ่มขึ้นในทุกๆ ด้าน ได้แก่ การใช้ยาและระวังผลแทรกซ้อน และการป้องกันการหกล้ม รวมทั้งพบว่า ผู้ร่วมวิจัยที่ตอบแบบสอบถามทุกคนต้องการให้มีสมุดบันทึกประจำตัวต่อไป เพราะมีประโยชน์ในการบันทึกข้อมูลยาและการฉีดวัคซีน เป็นการเตือนความจำและช่วยการสื่อสารกับแพทย์แผนกอื่นๆ สรุป: การใช้สมุดบันทึกประจำตัวร่วมกับการให้คำแนะนำจากบุคลากรทางการแพทย์ ช่วยเพิ่มความรู้และทัศนคติในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในทุกด้าน โดยเฉพาะเพื่อป้องกันการหกล้ม นอกจากนี้ยังมีประโยชน์กับการสื่อสารกับแพทย์แผนกอื่นๆ
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทย์ศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. กลุ่มงานพยาบาล
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทย์ศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. กลุ่มงานพยาบาล
ศิริพร ข่องแรง
จิตติมา บุญเกิด
สุนทราภรณ์ พิพัทธกุศลกุล
กรองทอง พุฒิโภคิน
Siriporn Khongrang
Chitima Boongird
Soontraporn Phiphadthakusolkul
Krongtong Putthipokin
format Original Article
author ศิริพร ข่องแรง
จิตติมา บุญเกิด
สุนทราภรณ์ พิพัทธกุศลกุล
กรองทอง พุฒิโภคิน
Siriporn Khongrang
Chitima Boongird
Soontraporn Phiphadthakusolkul
Krongtong Putthipokin
author_sort ศิริพร ข่องแรง
title การใช้สมุดบันทึกประจำตัวผู้สูงอายุเพื่อช่วยในการส่งเสริมสุขภาพเพิ่มพูนความรู้และทัศนคติที่ดีในการป้องกันการหกล้ม
title_short การใช้สมุดบันทึกประจำตัวผู้สูงอายุเพื่อช่วยในการส่งเสริมสุขภาพเพิ่มพูนความรู้และทัศนคติที่ดีในการป้องกันการหกล้ม
title_full การใช้สมุดบันทึกประจำตัวผู้สูงอายุเพื่อช่วยในการส่งเสริมสุขภาพเพิ่มพูนความรู้และทัศนคติที่ดีในการป้องกันการหกล้ม
title_fullStr การใช้สมุดบันทึกประจำตัวผู้สูงอายุเพื่อช่วยในการส่งเสริมสุขภาพเพิ่มพูนความรู้และทัศนคติที่ดีในการป้องกันการหกล้ม
title_full_unstemmed การใช้สมุดบันทึกประจำตัวผู้สูงอายุเพื่อช่วยในการส่งเสริมสุขภาพเพิ่มพูนความรู้และทัศนคติที่ดีในการป้องกันการหกล้ม
title_sort การใช้สมุดบันทึกประจำตัวผู้สูงอายุเพื่อช่วยในการส่งเสริมสุขภาพเพิ่มพูนความรู้และทัศนคติที่ดีในการป้องกันการหกล้ม
publishDate 2022
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/72249
_version_ 1763491076795006976
spelling th-mahidol.722492023-03-30T22:37:33Z การใช้สมุดบันทึกประจำตัวผู้สูงอายุเพื่อช่วยในการส่งเสริมสุขภาพเพิ่มพูนความรู้และทัศนคติที่ดีในการป้องกันการหกล้ม Health Promotion Education for Elderly Patients by Using Structured Self-Health Records to Enhance Knowledge and Attitudes Toward Fall Prevention ศิริพร ข่องแรง จิตติมา บุญเกิด สุนทราภรณ์ พิพัทธกุศลกุล กรองทอง พุฒิโภคิน Siriporn Khongrang Chitima Boongird Soontraporn Phiphadthakusolkul Krongtong Putthipokin มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทย์ศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. กลุ่มงานพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทย์ศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทย์ศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ฝ่ายเภสัชกรรม การป้องกันการหกล้ม โรงพยาบาล ผู้สูงอายุ การส่งเสริมสุขภาพ สมุดบันทึก Fall prevention Hospital Elderly Health promotion Self-health records บทนำ: การส่งเสริมสุขภาพในผู้สูงอายุอย่างรอบด้านเพื่อป้องกันการหกล้มเป็นสิ่งที่ควรปฏิบัติอย่างยิ่งในระบบการบริการปฐมภูมิ ปัจจุบันมีการใช้สมุดคู่มือส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุซึ่งจัดทำโดยกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข พบว่า เป็นปัจจัยเชิงบวกที่สำคัญต่อการที่ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ วัตถุประสงค์: เพื่อเปรียบเทียบความรู้และทัศนคติของผู้สูงอายุและผู้ดูแลก่อนและหลังการได้รับการส่งเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันการหกล้มโดยการให้คำแนะนำจากบุคลากรทางการแพทย์ประกอบกับการใช้สมุดบันทึกประจำตัว วิธีการศึกษา: การศึกษาเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ โดยการศึกษาเชิงปริมาณใช้แบบสอบถามสัมภาษณ์ผู้สูงอายุ จำนวน 143 คน และผู้ดูแล จำนวน 42 คน ก่อนและหลังการได้รับการส่งเสริมสุขภาพดังกล่าว สำหรับการศึกษาเชิงคุณภาพโดยการให้ผู้สูงอายุ จำนวน 106 คน และผู้ดูแล จำนวน 29 คน ตอบคำถามปลายเปิดเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการมีสมุดบันทึกประจำตัว และข้อจำกัด ภายหลังได้ใช้สมุดไปแล้ว 6 เดือนขึ้นไป ผลการศึกษา: ความรู้และทัศนคติในการดูแลสุขภาพเพิ่มขึ้นในทุกๆ ด้าน ได้แก่ การใช้ยาและระวังผลแทรกซ้อน และการป้องกันการหกล้ม รวมทั้งพบว่า ผู้ร่วมวิจัยที่ตอบแบบสอบถามทุกคนต้องการให้มีสมุดบันทึกประจำตัวต่อไป เพราะมีประโยชน์ในการบันทึกข้อมูลยาและการฉีดวัคซีน เป็นการเตือนความจำและช่วยการสื่อสารกับแพทย์แผนกอื่นๆ สรุป: การใช้สมุดบันทึกประจำตัวร่วมกับการให้คำแนะนำจากบุคลากรทางการแพทย์ ช่วยเพิ่มความรู้และทัศนคติในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในทุกด้าน โดยเฉพาะเพื่อป้องกันการหกล้ม นอกจากนี้ยังมีประโยชน์กับการสื่อสารกับแพทย์แผนกอื่นๆ Background: Health promotion education in elderly is the most important key to successful implementation of fall prevention program in primary care practice. The Ministry of Public Health in Thailand has encouraged the hospital in community to use the self-health records which were found to enhance healthy behaviors. Objective: To compare the knowledge and attitudes on fall prevention among elderly patients and their caregivers before and after the education program that employed using self-health records and receiving the counseling from nurses and pharmacists. Methods: This embedded mixed methods study was designed by using the structured questionnaires including demographic data and measuring the knowledge and attitude on fall prevention for quantitative arm (143 elderly patients and 42 caregivers). The open-ended questions about the advantages and disadvantages of self-health records were used in qualitative part among 106 elderly patients and 29 caregivers after 6 months of using their records. Results: Knowledge and attitude scores were statistically higher in all parts, including appropriate use of the medications, following vaccination schedule, and getting information about fall prevention from their primary care physicians. All participants in qualitative study required to have their self-health records to improve their understanding about their medications and health information. Conclusions: Self-health records and receiving the counseling from nurses and pharmacists not only enhances the knowledge and attitude toward fall prevention program in older adults but also helps patients to communicate with the specialists about their health information. 2022-07-26T04:16:06Z 2022-07-26T04:16:06Z 2565-07-26 2562 Original Article รามาธิบดีเวชสาร. ปีที่ 42, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มี.ค. 2562), 19-28 0125-3611 (Print) 2651-0561 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/72249 tha มหาวิทยาลัยมหิดล กลุ่มงานพยาบาล คณะแพทย์ศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัว คณะแพทย์ศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล กลุ่มงานเภสัชกรรมคลินิก ฝ่ายเภสัชกรรม คณะแพทย์ศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf