ความสมดุลของชีวิตการทำงานของบุคลากรสายสนับสนุนสังกัดภาควิชาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นและเปรียบเทียบความสมดุลของชีวิตการทำงานของบุคลากรสายสนับสนุนสังกัดภาควิชา คณะทันตแพทยศำสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ บุคลากรสายสนับสนุนสังกัดภาควิชา คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลจำนวนทั้งสิ้น 69 คน โดยกำหนดตัวอย่...
Saved in:
Main Authors: | , , , , , , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
2022
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79422 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.79422 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
ความสมดุลของชีวิตการทำงาน บุคลากร การบูรณาการทางสังคม เงินเดือน สวัสดิการ ๋Journal of Professional Routine to Research |
spellingShingle |
ความสมดุลของชีวิตการทำงาน บุคลากร การบูรณาการทางสังคม เงินเดือน สวัสดิการ ๋Journal of Professional Routine to Research ศิริลักษณ์ ชนะพันชัย เฉิดฉวี กิตติกุลพันธ์ พรรัตน์ บุญเพ็ชร กมลทิพย์ จิตรอำพัน Sirilug Chanapanchai Chertchavee Kittikulphan Pornrat Boonpetch Kamontip Jitoumpan ความสมดุลของชีวิตการทำงานของบุคลากรสายสนับสนุนสังกัดภาควิชาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล |
description |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นและเปรียบเทียบความสมดุลของชีวิตการทำงานของบุคลากรสายสนับสนุนสังกัดภาควิชา คณะทันตแพทยศำสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ บุคลากรสายสนับสนุนสังกัดภาควิชา คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลจำนวนทั้งสิ้น 69 คน โดยกำหนดตัวอย่างขนาด 66 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเป็นแบบสอบถามที่ผ่านการตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาจากผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน ได้ค่า IOC ระหว่าง 0.67-1.00 ความเชื่อถือของแบบสอบถามได้เท่ากับ 0.928 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบของ Mann-Whitney U test และการทดสอบของ Kruskal–Wallis test ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ผลการวิจัย พบว่า ความสมดุลของชีวิตการทำงานของบุคลากรสายสนับสนุนสังกัดภาควิชา คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลอยู่ในระดับมากและเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าด้านที่มีค่ำเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการบูรณาการทำงสังคมหรือการทำงานร่วมกัน ( ̅ = 3.94, S.D. = 0.60) รองลงมา คือ ด้านลักษณะของงาน ( ̅ = 3.85, S.D. = 0.49) ด้านโอกาสในการพัฒนานำศักยภาพเพื่อความก้าวหน้า ( ̅ = 3.70, S.D. = 0.63) และด้านความสมดุลของชีวิตการทำงาน ( ̅ = 3.51, S.D. = 0.58) ตามลำดับ ส่วนด้านเงินเดือน/สวัสดิการ อยู่ในระดับปานกลาง ( ̅ = 3.25, S.D. = 0.67) ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ความสมดุลของชีวิตการทำงานของบุคลากรสายสนับสนุนสังกัดภาควิชา คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลบุคลากรที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา ประสบการณ์ในการทำงาน และสังกัดในการทำงานปัจจุบัน แตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อความสมดุลของชีวิตการทำงานในด้านลักษณะของงาน ด้านเงินเดือน/สวัสดิการ ด้านโอกาสในการพัฒนานำศักยภาพเพื่อความก้าวหน้า ด้านการบูรณาการทางสังคมหรือการทำงานร่วมกัน ด้านความสมดุลของชีวิตการทำงาน และภาพรวมไม่แตกต่างกัน ส่วนบุคลากรที่มีรายได้ต่อเดือน และประเภทของบุคลากร แตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อความสมดุลของชีวิตการทำงานในด้านเงินเดือน/สวัสดิการ และด้านโอกาสการพัฒนานำศักยภาพเพื่อความก้าวหน้า แตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 |
author2 |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะทันตแพทยศาสตร์. ภาควิชาทันตกรรมหัตถการและวิทยาเอ็นโดดอนต์ |
author_facet |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะทันตแพทยศาสตร์. ภาควิชาทันตกรรมหัตถการและวิทยาเอ็นโดดอนต์ ศิริลักษณ์ ชนะพันชัย เฉิดฉวี กิตติกุลพันธ์ พรรัตน์ บุญเพ็ชร กมลทิพย์ จิตรอำพัน Sirilug Chanapanchai Chertchavee Kittikulphan Pornrat Boonpetch Kamontip Jitoumpan |
format |
Article |
author |
ศิริลักษณ์ ชนะพันชัย เฉิดฉวี กิตติกุลพันธ์ พรรัตน์ บุญเพ็ชร กมลทิพย์ จิตรอำพัน Sirilug Chanapanchai Chertchavee Kittikulphan Pornrat Boonpetch Kamontip Jitoumpan |
author_sort |
ศิริลักษณ์ ชนะพันชัย |
title |
ความสมดุลของชีวิตการทำงานของบุคลากรสายสนับสนุนสังกัดภาควิชาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล |
title_short |
ความสมดุลของชีวิตการทำงานของบุคลากรสายสนับสนุนสังกัดภาควิชาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล |
title_full |
ความสมดุลของชีวิตการทำงานของบุคลากรสายสนับสนุนสังกัดภาควิชาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล |
title_fullStr |
ความสมดุลของชีวิตการทำงานของบุคลากรสายสนับสนุนสังกัดภาควิชาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล |
title_full_unstemmed |
ความสมดุลของชีวิตการทำงานของบุคลากรสายสนับสนุนสังกัดภาควิชาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล |
title_sort |
ความสมดุลของชีวิตการทำงานของบุคลากรสายสนับสนุนสังกัดภาควิชาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล |
publishDate |
2022 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79422 |
_version_ |
1763489709750747136 |
spelling |
th-mahidol.794222023-03-30T21:52:26Z ความสมดุลของชีวิตการทำงานของบุคลากรสายสนับสนุนสังกัดภาควิชาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล Work-life Balance of Departmental Supportive Personal, Facultyof Dentistry, Mahidol University ศิริลักษณ์ ชนะพันชัย เฉิดฉวี กิตติกุลพันธ์ พรรัตน์ บุญเพ็ชร กมลทิพย์ จิตรอำพัน Sirilug Chanapanchai Chertchavee Kittikulphan Pornrat Boonpetch Kamontip Jitoumpan มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะทันตแพทยศาสตร์. ภาควิชาทันตกรรมหัตถการและวิทยาเอ็นโดดอนต์ มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะทันตแพทยศาสตร์. ภาควิชาวิทยาระบบบดเคี้ยว มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะทันตแพทยศาสตร์. ภาควิชาเภสัชวิทยา มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะทันตแพทยศาสตร์. ภาควิชาศัลยศาสตร์ช่องปากและแม็กซิลโลเฟเชียล ความสมดุลของชีวิตการทำงาน บุคลากร การบูรณาการทางสังคม เงินเดือน สวัสดิการ ๋Journal of Professional Routine to Research การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นและเปรียบเทียบความสมดุลของชีวิตการทำงานของบุคลากรสายสนับสนุนสังกัดภาควิชา คณะทันตแพทยศำสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ บุคลากรสายสนับสนุนสังกัดภาควิชา คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลจำนวนทั้งสิ้น 69 คน โดยกำหนดตัวอย่างขนาด 66 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเป็นแบบสอบถามที่ผ่านการตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาจากผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน ได้ค่า IOC ระหว่าง 0.67-1.00 ความเชื่อถือของแบบสอบถามได้เท่ากับ 0.928 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบของ Mann-Whitney U test และการทดสอบของ Kruskal–Wallis test ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ผลการวิจัย พบว่า ความสมดุลของชีวิตการทำงานของบุคลากรสายสนับสนุนสังกัดภาควิชา คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลอยู่ในระดับมากและเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าด้านที่มีค่ำเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการบูรณาการทำงสังคมหรือการทำงานร่วมกัน ( ̅ = 3.94, S.D. = 0.60) รองลงมา คือ ด้านลักษณะของงาน ( ̅ = 3.85, S.D. = 0.49) ด้านโอกาสในการพัฒนานำศักยภาพเพื่อความก้าวหน้า ( ̅ = 3.70, S.D. = 0.63) และด้านความสมดุลของชีวิตการทำงาน ( ̅ = 3.51, S.D. = 0.58) ตามลำดับ ส่วนด้านเงินเดือน/สวัสดิการ อยู่ในระดับปานกลาง ( ̅ = 3.25, S.D. = 0.67) ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ความสมดุลของชีวิตการทำงานของบุคลากรสายสนับสนุนสังกัดภาควิชา คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลบุคลากรที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา ประสบการณ์ในการทำงาน และสังกัดในการทำงานปัจจุบัน แตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อความสมดุลของชีวิตการทำงานในด้านลักษณะของงาน ด้านเงินเดือน/สวัสดิการ ด้านโอกาสในการพัฒนานำศักยภาพเพื่อความก้าวหน้า ด้านการบูรณาการทางสังคมหรือการทำงานร่วมกัน ด้านความสมดุลของชีวิตการทำงาน และภาพรวมไม่แตกต่างกัน ส่วนบุคลากรที่มีรายได้ต่อเดือน และประเภทของบุคลากร แตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อความสมดุลของชีวิตการทำงานในด้านเงินเดือน/สวัสดิการ และด้านโอกาสการพัฒนานำศักยภาพเพื่อความก้าวหน้า แตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 This research studied the opinions and compared the work-life balance of the department support staff at the Faculty of Dentistry, Mahidol University. The study population was 69 department support staff of the Faculty of Dentistry, Mahidol University, and 66 staff were recruited for the study group. A questionnaire was used for data collection, and the questionnaire was verified for content validity by three experts. The IOC score of the questionnaire was 0.67-1.00, and the reliability test score was 0.928. The data were analyzed using descriptive statistics as percentage, mean, and standard deviation. The Mann-Whitney U test and Kruskal-Wallis test were used to analyzed the data at the significant level of 0.05. The result showed the work-life balance score of the department support staff at the Faculty of Dentistry, Mahidol University was high. For details, the score of social integration or collaborations was the highest (3.94±0.60); the job description score was 3.85±0.49; potential development for carrier advancement was 3.70±0.63, and work-life balance was 3.51±0.58. While the salary/welfare score was medium at 3.25±0.67. The hypothesis test demonstrated that the personnel of the groups with different gender, age, education, work experience, and department did not have different opinions in work-life balance in the aspects of job description, salary/welfare, potential development for career advancement, social integration of collaborations, and overall. However, the personnel with different salary and type of personnel had different opinions on work-life balance in the aspects of salary/welfare, and potential development for career advancement (p<0.05). 2022-08-19T04:16:24Z 2022-08-19T04:16:24Z 2565-07-31 2565 Research Article วารสารการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย. ปีที่ 9, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2565), 56-69 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79422 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf |