กล่องควบคุมอุณหภูมิร่างกายทารกในขณะตรวจด้วยเครื่องฟลูออโรสโคปี

ปัญญามหิดล คุณภาพคน คุณภาพงาน " Mahidol culture : M-A-H-I-D-O-L”. ณ อาคารมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา, นครปฐม. 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564. หน้า 87-88...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ดาหวัน หลอยถวิล, รุ่งนภา บัวสุวรรณ, อาภรณ์ ชูศรีวัน, รัชฎาวรรณ เจือจันทร์
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล. ฝ่ายการพยาบาล
Format: Proceeding Abstract
Language:Thai
Published: 2022
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79457
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.79457
record_format dspace
spelling th-mahidol.794572023-03-31T05:27:32Z กล่องควบคุมอุณหภูมิร่างกายทารกในขณะตรวจด้วยเครื่องฟลูออโรสโคปี Housing keep temperature for fluoroscopy ดาหวัน หลอยถวิล รุ่งนภา บัวสุวรรณ อาภรณ์ ชูศรีวัน รัชฎาวรรณ เจือจันทร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล. ฝ่ายการพยาบาล keep temperature fluoroscopy ทารก เครื่องฟลูออโรสโคปี Mahidol Quality Fair ปัญญามหิดล คุณภาพคน คุณภาพงาน " Mahidol culture : M-A-H-I-D-O-L”. ณ อาคารมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา, นครปฐม. 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564. หน้า 87-88 การตรวจฟลูออโรสโคปี (Fluoroscopy) เป็นการตรวจวินิจฉัยทางรังสีที่สำคัญอย่างหนึ่ง ทำให้เห็นภาพเอกซเรย์ของโครงสร้างและการทำงานของอวัยวะภายในร่างกายแบบเคลื่อนไหว ซึ่งสามารถช่วยในการวินิจฉัยความผิดปกติต่างๆ ในร่างกายได้ เช่น การตรวจทางเดินอาหาร การตรวจการกลืนการตรวจลำไส้ และ การตรวจกระเพาะปัสสาวะ เป็นต้น (Sweta, Stephane,Lisa, Nima & Brenton, 2015, p. 228-234) สำหรับทารก (Infant) การตรวจด้วยฟลูออโรสโคปีมีประโยชน์ในการวนิจฉัย โดยมากผู้ป่วยที่มารับการตรวจวินิจฉัยที่หน่วยตรวจพิเศษทางรังสี (ตึก 72 ปีชั้น 2) มักมีปัญหาเกี่ยวกับระบบทางเดินอาหาร เช่น ภาวะตีบของลำไส้ (Colonic stricture) อาการท้องอืดและสงสัยโรค Hirschsprung’s disease หรือ ในรายที่ต้องการประเมินลำไส้หน้าท้องหลังผ่าตัด เป็นต้น อีกทั้งการตรวจยังเป็นแบบ noninvasiveและไม่ต้องดมยาสลบระหว่างตรวจ (American College ofRadiology, 2019) จึงยังคงมีความสำคัญในการตรวจวินิจฉัยในทารกที่มีปัญหา แต่ในระหว่างการตรวจวินิจฉัยด้วยฟลูออโรสโคปีทารกมีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนได้ โดยเฉพาะภาวะอุณหภูมิร่างกายต่ำ (Hypothermia) โดยเฉพาะอย่างยิ่งทารกที่คลอดก่อนกำหนด ยิ่งมีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะอุณหภูมิร่างกายต่ำมาก และในระหว่างการเคลื่อนย้ายมายังห้องตรวจฟลูออโรสโคปี ทารกมักมาในตู้อบ (Radiant warmer) เมื่อเริ่มการตรวจวินิจฉัยต้อง นำทารกออกจากตู้อบมาสู่อุณหภูมิห้องที่อุณหภูมิต่ำถึง 22 องศาเซลเซียสเนื่องจากเครื่องฟลูออโรสโคปีต้องทำในห้องที่อุณหภูมิต่า โดยในปี 2562 มีทารกที่คลอดก่อนกำหนดมารับการตรวจวินิจฉัยตรวจฟลูออโรสโคปีที่หน่วย ตรวจมากถึงร้อยละ 20 ของทารกทั้งหมด ซึ่งการเกิดภาวะอุณหภูมิร่างกายต่ำในทารก องค์การอนามัยโลก (The world health organization, 2019) ได้กำหนดอุณหภูมิที่น้อยว่า 36.5 องศาเซลเซียส ทั้งนี้ภาวะอุณหภูมิร่างกายต่ำ สามารถทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนที่ตามมาอย่างต่อเนื่อง และมีโอกาสเกิดอันตรายต่อทารกเป็นอย่างมาก ได้แก่ ภาวะหายใจลำบาก (respiratorydistress) ภาวะเป็นกรดในเลือด (metabolic acidosis) หรือ ภาวะดีซ่าน(Jaundice) เป็นต้น การป้องกันภาวะอุณหภูมิร่างกายต่ำในทารกจึงเป็นสิ่งที่จำเป็น ควรต้องจัดอุณหภูมิสิ่งแวดล้อมภายในห้องให้อยู่ระหว่าง 25 ถึง 28 องศาเซลเซียส และรักษาอุณหภูมิร่างกายทารกอยู่ระหว่าง 36.8 ถึง 37.2 องศาเซลเซียส (Stavis, 2019) ดังนั้นในปี 2561 หน่วยตรวจพิเศษทางรังสี(ตึก 72 ปีชั้น 2 ) จึงตระหนักถึงการป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่สามารถป้องกันภาวะอุณหภูมิร่างกายต่ำ (Hypothermia) ในทารก โดยระยะเริ่มแรกใช้เครื่องเป่าลมร้อนเป็นเบาะรองนอนระหว่างตรวจ พบว่าทารกยังมีภาวะอุณหภูมิร่างกายต่ำ จึงใช้วิธีการปิดเครื่องปรับอากาศขณะตรวจ ทำให้บุคลากรไม่สุขสบายเนื่องจากต้องสวมใส่เสื้อตะกั่วขณะทำงาน และอาจส่งผลทำให้เครื่องฟลูออโรสโคปีขัดข้องได้ ทางหน่วยงานจึงคิดประดิษฐ์นวัตกรรม จากกล่องกระดาษ เพื่อใช้ในการรักษาอุณหภูมิสิ่งแวดล้อมและร่างกายทารก ให้เหมาะสมปลอดภัยระหว่างตรวจฟลูออโรสโคปี โดยนวัตกรรมดังกล่าวสามารถรักษาอุณหภูมิสิ่งแวดล้อมและร่างกายของทารกได้ แต่ก็ยังประดิษฐ์จากวัสดุที่ไม่คงทน และมีขนาดเล็ก ทางหน่วยงานจึงคิดค้นพัฒนานวัตกรรมโดยใช้วัสดุอะคลิลิก เพื่อให้สามารถมองเห็นทารกในขณะตรวจได้อย่างชัดเจนใช้งานง่าย ขนาดใหญ่ขึ้น คงทน และสามารถรักษาอุณหภูมิสิ่งแวดล้อมและร่างกายของทารกได้เช่นกัน ทำให้ผู้ป่วยปลอดภัยจากภาวะอุณหภูมิร่างกายต่ำระหว่างตรวจวินิจฉัยด้วยเครื่องฟลูออโรสโคปีได้ 2022-08-23T09:05:28Z 2022-08-23T09:05:28Z 2565-01-23 2564 Proceeding Abstract https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79457 tha มหาวิทยาลัยมหิดล กองพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic keep temperature
fluoroscopy
ทารก
เครื่องฟลูออโรสโคปี
Mahidol Quality Fair
spellingShingle keep temperature
fluoroscopy
ทารก
เครื่องฟลูออโรสโคปี
Mahidol Quality Fair
ดาหวัน หลอยถวิล
รุ่งนภา บัวสุวรรณ
อาภรณ์ ชูศรีวัน
รัชฎาวรรณ เจือจันทร์
กล่องควบคุมอุณหภูมิร่างกายทารกในขณะตรวจด้วยเครื่องฟลูออโรสโคปี
description ปัญญามหิดล คุณภาพคน คุณภาพงาน " Mahidol culture : M-A-H-I-D-O-L”. ณ อาคารมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา, นครปฐม. 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564. หน้า 87-88
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล. ฝ่ายการพยาบาล
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล. ฝ่ายการพยาบาล
ดาหวัน หลอยถวิล
รุ่งนภา บัวสุวรรณ
อาภรณ์ ชูศรีวัน
รัชฎาวรรณ เจือจันทร์
format Proceeding Abstract
author ดาหวัน หลอยถวิล
รุ่งนภา บัวสุวรรณ
อาภรณ์ ชูศรีวัน
รัชฎาวรรณ เจือจันทร์
author_sort ดาหวัน หลอยถวิล
title กล่องควบคุมอุณหภูมิร่างกายทารกในขณะตรวจด้วยเครื่องฟลูออโรสโคปี
title_short กล่องควบคุมอุณหภูมิร่างกายทารกในขณะตรวจด้วยเครื่องฟลูออโรสโคปี
title_full กล่องควบคุมอุณหภูมิร่างกายทารกในขณะตรวจด้วยเครื่องฟลูออโรสโคปี
title_fullStr กล่องควบคุมอุณหภูมิร่างกายทารกในขณะตรวจด้วยเครื่องฟลูออโรสโคปี
title_full_unstemmed กล่องควบคุมอุณหภูมิร่างกายทารกในขณะตรวจด้วยเครื่องฟลูออโรสโคปี
title_sort กล่องควบคุมอุณหภูมิร่างกายทารกในขณะตรวจด้วยเครื่องฟลูออโรสโคปี
publishDate 2022
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79457
_version_ 1763488344176590848