การพัฒนาแนวทางการดูแลทารกแรกเกิดที่มารดาติดเชื้อเอชไอวีในห้องคลอด
ปัญญามหิดล คุณภาพคน คุณภาพงาน " Mahidol culture : M-A-H-I-D-O-L”. ณ อาคารมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา, นครปฐม. 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564. หน้า 93-94...
Saved in:
Main Authors: | , , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Proceeding Abstract |
Language: | Thai |
Published: |
2022
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79472 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.79472 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-mahidol.794722023-03-31T07:09:07Z การพัฒนาแนวทางการดูแลทารกแรกเกิดที่มารดาติดเชื้อเอชไอวีในห้องคลอด ยิ่งขวัญ อยู่รัตน์ ปราณี ขำคมกุล บุญยรัตน์ ปิ่นเวหา ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกหน่วยงาน มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ฝ่ายการพยาบาลโรงพยาบาลรามาธิบดี ทารกแรกเกิด มารดาติดเชื้อเอชไอวี เชื้อเอชไอวี HIV ีห้องคลอด Mahidol Quality Fair ปัญญามหิดล คุณภาพคน คุณภาพงาน " Mahidol culture : M-A-H-I-D-O-L”. ณ อาคารมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา, นครปฐม. 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564. หน้า 93-94 ห้องคลอดให้การดูแลทารกที่เกิดจากมารดาติดเชื้อเอชไอวีตั้งแต่ แรกเริ่มโดยได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีจากทีมกุมารแพทย์และทีมสูติแพทย์ โดยมีเป้าหมายเดียวกันคือการลดการถ่ายทอดเชื้อจากแม่สู่ลูก เนื่องจาก โรงพยาบาลรามาธิบดีเป็นโรงเรียนแพทย์ทำให้มีการผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนของ แพทย์ประจำบ้านและมีพยาบาลจบใหม่เข้ามาปฏิบัติงาน และจากจำนวน ผู้รับบริการในกลุ่มมารดาติดเชื้อเอชไอวีในห้องคลอดมีปริมาณไม่มากนักเฉลี่ย ปีละ 10-15 ราย ทำให้ทีมผู้ดูแลไม่ได้มีความชำนาญมากในการให้การดูแล และระบบการทำงานไม่ได้มีการเอื้ออำนวยมากทำให้เกิดเหตุการณ์และปัญหา ที่พบได้แก่ มีรายงานการคำนวณยาต้านไวรัสให้ทารกแรกเกิดเกินจำนวน (Over doses) เกิดขึ้นในห้องคลอดจำนวน 1 ครั้ง ระบบเดิมที่มีการใช้ HN ของมารดาในการคีย์ยาต้านไวรัส Zidovudine (AZT syrup) มาเตรียมไว้ สำหรับให้ยาทารกแรกเกิดทันทีทำให้ไม่มีข้อมูลในระบบของโรงพยาบาล เกี่ยวกับการได้รับยาครั้งแรกของทารก มีโอกาสเกิดความผิดพลาดได้หากมี การตรวจสอบภายหลัง มีการใช้ระบบการ Stock ยาต้านไวรัส Zidovudine (AZT syrup) ซึ่งไม่เหมาะสมเนื่องจากอัตราการใช้น้อยทำให้ยาหมดอายุไป ก่อน และเสี่ยงต่อการบริหารยาเองโดยไม่ผ่านเภสัชกร เมื่อมีการเปลี่ยนแปลง ระบบโดยการรอให้ทารกเกิดมี HN และ AN แล้วจึงค่อยทำการเบิกยาโดยใช้ ใบยา COPY (เนื่องจากในห้องคลอดไม่มีระบบ IPD ของทารกแรกเกิดจึงไม่ สามารถทำการคีย์สั่งยาจากระบบได้) ที่ห้องยาชั้นใต้ดินอาคาร 4 ชั้น 1 บางครั้งยาขาดต้องไปติดต่อจากคลังยาอื่นทำให้ทารกได้รับยาต้านไวรัสช้า เกินไป (มีการได้รับยาต้านไวรัสหลังเกิด 5 ชั่วโมงเนื่องจากห้องยาไม่ทราบว่า จะมีการใช้ยาทำให้ไม่ได้มีการเตรียมยาไว้) สูตรยาต้านไวรัสที่มีการปรับปรุง และเปลี่ยนแปลงไปตามข้อมูลเชิงประจักษ์ทำให้บางครั้งทารกได้รับยาไม่ ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง จากปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นทางห้องคลอด โรงพยาบาลรามาธิบดีจึง ได้มีการพัฒนาและปรับปรุงการดูแลทารกกลุ่มมารดาติดเชื้อเอชไอวีขึ้นเพื่อ เป็นการวางแนวทางปฏิบัติที่ถูกต้องและเป็นมาตรฐาน ทารกได้รับยาด้าน ไวรัสที่ครบถ้วน ถูกต้อง เพื่อลดการถ่ายทอดเชื้อจากแม่สู่ลูก และเพื่อให้ เจ้าหน้าที่และทีมสุขภาพปลอดภัยไม่เกิดการติดเชื้อจากการทำงานเชื่อมโยง สอดคล้องกับ 2P Safety ด้าน Patient Care Process, Infection Control และ Medication Safety และเพื่อเตรียมขอรับการรับรองเฉพาะโรคด้านเอช ไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ที่กำลังดำเนินการอยู่ในปัจจุบัน ผลดำเนินโครงการ 4 ปีพบว่า เวลาเฉลี่ยที่ทารกได้รับยาต้านเอชไอวี ภายหลังคลอดไม่เกิน 2 ชั่วโมงและอัตราการปฏิบัติตามแนวทางการดูแล ทารกแรกเกิดมารดาติดเชื้อเอชไอวีในห้องคลอดเพิ่มขึ้นครบถ้วนคิดเป็น 100% 2022-08-31T15:10:56Z 2022-08-31T15:10:56Z 2565-08-31 2564 Proceeding Abstract https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79472 tha มหาวิทยาลัยมหิดล กองพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
ทารกแรกเกิด มารดาติดเชื้อเอชไอวี เชื้อเอชไอวี HIV ีห้องคลอด Mahidol Quality Fair |
spellingShingle |
ทารกแรกเกิด มารดาติดเชื้อเอชไอวี เชื้อเอชไอวี HIV ีห้องคลอด Mahidol Quality Fair ยิ่งขวัญ อยู่รัตน์ ปราณี ขำคมกุล บุญยรัตน์ ปิ่นเวหา ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกหน่วยงาน การพัฒนาแนวทางการดูแลทารกแรกเกิดที่มารดาติดเชื้อเอชไอวีในห้องคลอด |
description |
ปัญญามหิดล คุณภาพคน คุณภาพงาน " Mahidol culture : M-A-H-I-D-O-L”. ณ อาคารมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา, นครปฐม. 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564. หน้า 93-94 |
author2 |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ฝ่ายการพยาบาลโรงพยาบาลรามาธิบดี |
author_facet |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ฝ่ายการพยาบาลโรงพยาบาลรามาธิบดี ยิ่งขวัญ อยู่รัตน์ ปราณี ขำคมกุล บุญยรัตน์ ปิ่นเวหา ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกหน่วยงาน |
format |
Proceeding Abstract |
author |
ยิ่งขวัญ อยู่รัตน์ ปราณี ขำคมกุล บุญยรัตน์ ปิ่นเวหา ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกหน่วยงาน |
author_sort |
ยิ่งขวัญ อยู่รัตน์ |
title |
การพัฒนาแนวทางการดูแลทารกแรกเกิดที่มารดาติดเชื้อเอชไอวีในห้องคลอด |
title_short |
การพัฒนาแนวทางการดูแลทารกแรกเกิดที่มารดาติดเชื้อเอชไอวีในห้องคลอด |
title_full |
การพัฒนาแนวทางการดูแลทารกแรกเกิดที่มารดาติดเชื้อเอชไอวีในห้องคลอด |
title_fullStr |
การพัฒนาแนวทางการดูแลทารกแรกเกิดที่มารดาติดเชื้อเอชไอวีในห้องคลอด |
title_full_unstemmed |
การพัฒนาแนวทางการดูแลทารกแรกเกิดที่มารดาติดเชื้อเอชไอวีในห้องคลอด |
title_sort |
การพัฒนาแนวทางการดูแลทารกแรกเกิดที่มารดาติดเชื้อเอชไอวีในห้องคลอด |
publishDate |
2022 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79472 |
_version_ |
1763495484662480896 |