การใช้ยาร่วมกันหลายขนานในผู้สูงอายุ

ประชากรผู้สูงอายุมีอัตราเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วง 20 ปีที่ผ่านมา ซึ่งขณะนี้ประเทศไทยเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ มีประชากรผู้สูงอายุประมาณร้อยละ 16 ของจำนวนประชากรทั้งหมด โดยพบว่า ผู้สูงอายุมีโรคประจำตัวมากขึ้นตามจำนวนอายุที่มากขึ้น โรคเหล่านี้ส่วนใหญ่รักษาโดยการใช้ยาร่วมกันหลายขนาน ซึ่งการ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ศิรสา เรืองฤทธิ์ชาญกุล, Sirasa Ruangritchankul
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาอายุรศาสตร์
Format: Review Article
Language:Thai
Published: 2022
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79507
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.79507
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic การใช้ยาร่วมกันหลายขนาน
ผู้สูงอายุ
ปัญหาเกี่ยวข้องกับยา
การบริหารยา
Polypharmacy
The elderly
Drug-related problems
Drug administration
spellingShingle การใช้ยาร่วมกันหลายขนาน
ผู้สูงอายุ
ปัญหาเกี่ยวข้องกับยา
การบริหารยา
Polypharmacy
The elderly
Drug-related problems
Drug administration
ศิรสา เรืองฤทธิ์ชาญกุล
Sirasa Ruangritchankul
การใช้ยาร่วมกันหลายขนานในผู้สูงอายุ
description ประชากรผู้สูงอายุมีอัตราเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วง 20 ปีที่ผ่านมา ซึ่งขณะนี้ประเทศไทยเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ มีประชากรผู้สูงอายุประมาณร้อยละ 16 ของจำนวนประชากรทั้งหมด โดยพบว่า ผู้สูงอายุมีโรคประจำตัวมากขึ้นตามจำนวนอายุที่มากขึ้น โรคเหล่านี้ส่วนใหญ่รักษาโดยการใช้ยาร่วมกันหลายขนาน ซึ่งการใช้ยาร่วมกันหลายขนานในผู้สูงอายุยังมีปัจจัยอื่นร่วมด้วย ได้แก่ อายุ การศึกษา ความถี่ในการเข้ารับบริการทางการแพทย์ การเข้าถึงแหล่งยา เป็นต้น จากข้อมูลของประเทศไทยพบความชุกของการใช้ยาร่วมกันหลายขนานในผู้สูงอายุร้อยละ 29 ถึง 75 ผลกระทบจากการใช้ยาร่วมกันหลายขนาน ได้แก่ ปัญหาจากการใช้ยา เช่น การเกิดอันตรกิริยาระหว่างยา การเกิดอันตรกิริยาระหว่างโรคและยา การเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากยา การใช้ยาซ้ำซ้อน รวมถึงการขาดระเบียบวินัยในการใช้ยา ซึ่งปัญหาต่างๆ เหล่านี้ส่งผลให้ผู้สูงอายุมีภาวะทุพพลภาพและคุณภาพชีวิตที่แย่ลง รวมทั้งส่งผลต่อระบบสาธารณสุข เพิ่มการสูญเสียด้านทรัพยากรบุคลากรทางการแพทย์ และภาระการใช้จ่ายของประเทศ การป้องกันการใช้ยาร่วมกันหลายขนานควรได้รับความร่วมมือจากสหสาขาวิชาชีพ ได้แก่ แพทย์ พยาบาล เภสัชกร รวมถึงผู้สูงอายุและผู้ดูแล ทั้งนี้ บุคลากรทางการแพทย์ควรตระหนักถึงการประเมินผู้สูงอายุอย่างองค์รวม การซักประวัติโรค และยาอย่างละเอียด รวมถึงหลักการการรักษาควรเริ่มจากการไม่ใช้ยาก่อน กรณีการรักษาโดยการให้ยาควรพิจารณาทั้งข้อดีและข้อเสียของยาแต่ละตัว การทำงานของไตและตับ และควรเริ่มการให้ยาในปริมาณน้อยจากนั้นค่อยปรับยาปริมาณเพิ่มขึ้นอย่างช้าๆ รวมทั้งให้ความสำคัญกับการประเมินการเกิดอันตรกิริยาระหว่างยา การเกิดอันตรกิริยาระหว่างโรคและยา การเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากยาระหว่างการสั่งจ่ายยา รวมถึงการพัฒนาระบบสั่งจ่ายยาด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ที่อำนวยความสะดวกให้บุคลากรทางการแพทย์ในการควบคุมการใช้ยาของผู้ป่วยอย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถตรวจพบปัญหาจากการสั่งจ่ายยา
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาอายุรศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาอายุรศาสตร์
ศิรสา เรืองฤทธิ์ชาญกุล
Sirasa Ruangritchankul
format Review Article
author ศิรสา เรืองฤทธิ์ชาญกุล
Sirasa Ruangritchankul
author_sort ศิรสา เรืองฤทธิ์ชาญกุล
title การใช้ยาร่วมกันหลายขนานในผู้สูงอายุ
title_short การใช้ยาร่วมกันหลายขนานในผู้สูงอายุ
title_full การใช้ยาร่วมกันหลายขนานในผู้สูงอายุ
title_fullStr การใช้ยาร่วมกันหลายขนานในผู้สูงอายุ
title_full_unstemmed การใช้ยาร่วมกันหลายขนานในผู้สูงอายุ
title_sort การใช้ยาร่วมกันหลายขนานในผู้สูงอายุ
publishDate 2022
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79507
_version_ 1763491832100028416
spelling th-mahidol.795072023-03-30T18:33:45Z การใช้ยาร่วมกันหลายขนานในผู้สูงอายุ Polypharmacy in the Elderly ศิรสา เรืองฤทธิ์ชาญกุล Sirasa Ruangritchankul มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาอายุรศาสตร์ การใช้ยาร่วมกันหลายขนาน ผู้สูงอายุ ปัญหาเกี่ยวข้องกับยา การบริหารยา Polypharmacy The elderly Drug-related problems Drug administration ประชากรผู้สูงอายุมีอัตราเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วง 20 ปีที่ผ่านมา ซึ่งขณะนี้ประเทศไทยเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ มีประชากรผู้สูงอายุประมาณร้อยละ 16 ของจำนวนประชากรทั้งหมด โดยพบว่า ผู้สูงอายุมีโรคประจำตัวมากขึ้นตามจำนวนอายุที่มากขึ้น โรคเหล่านี้ส่วนใหญ่รักษาโดยการใช้ยาร่วมกันหลายขนาน ซึ่งการใช้ยาร่วมกันหลายขนานในผู้สูงอายุยังมีปัจจัยอื่นร่วมด้วย ได้แก่ อายุ การศึกษา ความถี่ในการเข้ารับบริการทางการแพทย์ การเข้าถึงแหล่งยา เป็นต้น จากข้อมูลของประเทศไทยพบความชุกของการใช้ยาร่วมกันหลายขนานในผู้สูงอายุร้อยละ 29 ถึง 75 ผลกระทบจากการใช้ยาร่วมกันหลายขนาน ได้แก่ ปัญหาจากการใช้ยา เช่น การเกิดอันตรกิริยาระหว่างยา การเกิดอันตรกิริยาระหว่างโรคและยา การเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากยา การใช้ยาซ้ำซ้อน รวมถึงการขาดระเบียบวินัยในการใช้ยา ซึ่งปัญหาต่างๆ เหล่านี้ส่งผลให้ผู้สูงอายุมีภาวะทุพพลภาพและคุณภาพชีวิตที่แย่ลง รวมทั้งส่งผลต่อระบบสาธารณสุข เพิ่มการสูญเสียด้านทรัพยากรบุคลากรทางการแพทย์ และภาระการใช้จ่ายของประเทศ การป้องกันการใช้ยาร่วมกันหลายขนานควรได้รับความร่วมมือจากสหสาขาวิชาชีพ ได้แก่ แพทย์ พยาบาล เภสัชกร รวมถึงผู้สูงอายุและผู้ดูแล ทั้งนี้ บุคลากรทางการแพทย์ควรตระหนักถึงการประเมินผู้สูงอายุอย่างองค์รวม การซักประวัติโรค และยาอย่างละเอียด รวมถึงหลักการการรักษาควรเริ่มจากการไม่ใช้ยาก่อน กรณีการรักษาโดยการให้ยาควรพิจารณาทั้งข้อดีและข้อเสียของยาแต่ละตัว การทำงานของไตและตับ และควรเริ่มการให้ยาในปริมาณน้อยจากนั้นค่อยปรับยาปริมาณเพิ่มขึ้นอย่างช้าๆ รวมทั้งให้ความสำคัญกับการประเมินการเกิดอันตรกิริยาระหว่างยา การเกิดอันตรกิริยาระหว่างโรคและยา การเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากยาระหว่างการสั่งจ่ายยา รวมถึงการพัฒนาระบบสั่งจ่ายยาด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ที่อำนวยความสะดวกให้บุคลากรทางการแพทย์ในการควบคุมการใช้ยาของผู้ป่วยอย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถตรวจพบปัญหาจากการสั่งจ่ายยา The prevalence of polypharmacy in the elderly has risen during the last 20 years. At present, Thailand is coming aged society which the number of older adults aged 60 or over increase to 16% of total population. Older patients usually present with multiple comorbidities related to advanced age, resulting in increased demand for medications. Furthermore, other risk factors of polypharmacy are age, education, the frequency of health care services and easily approachable medication. The prevalence of polypharmacy in Thailand has varied, ranging from 29% to 75%. Polypharmacy has negative impact on the elderly such as drug-drug interactions, drug-disease interactions, adverse drug reactions and events, duplicated drugs, nonadherence, morbidity as well as mortality. Moreover, polypharmacy has profoundly negative effect on health care systems including expenditure of human resources and medical resources. Prevention of polypharmacy should get cooperation by multidisciplinary team including physicians, nurses, pharmacists, the elderly and caregivers. In terms of health care personnel, comprehensive geriatric assessment and taking history of comorbidities and medications should be concerned before making decision for treatment. However, physicians should start treatment by non-pharmacological treatment. The strategies of pharmacological treatment in the elderly are consideration of risks and benefits of regimens, adjustment of doses for renal and hepatic impairment as well as start with a low dose and slow titration. Furthermore, physicians and pharmacists should be aware of drug-drug interactions, drug-disease interactions as well as adverse drug reactions and events during treatment. Finally, development of electronic prescription and medical reconciliation can help physicians and pharmacists monitor efficacy of drug usages and detect prescription problems. 2022-09-12T09:36:40Z 2022-09-12T09:36:40Z 2565-09-12 2561 Review Article รามาธิบดีเวชสาร. ปีที่ 41, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มี.ค. 2561), 95-104 0125-3611 (Print) 2651-0561 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79507 tha มหาวิทยาลัยมหิดล ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf