แรงสนับสนุนทางสังคมและคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมภายหลังการรักษาในโรงพยาบาลสังกัดมหาวิทยาลัย: การศึกษาเปรียบเทียบ

การวิจัยเชิงบรรยายนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความเเรงสนับสนุนทางสังคมและคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยมะเร็งเต้านมภายหลังการรักษาที่มีปัจจัยส่วนบุคคลแตกต่างกัน กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่มาตรวจติดตามการรักษาในโรงพยาบาลสังกัดมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง ระหว่างเดือนมีนาคม 2555 ถึงเมษายน 2556 จำนวน 12...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: มณฑา ลิ้มทองกุล, บัวหลวง สำแดงฤทธิ์, Montha Limthongkul, Bualuang Sumdaengrit
Format: Original Article
Language:Thai
Published: 2022
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79618
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.79618
record_format dspace
spelling th-mahidol.796182023-03-30T18:35:01Z แรงสนับสนุนทางสังคมและคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมภายหลังการรักษาในโรงพยาบาลสังกัดมหาวิทยาลัย: การศึกษาเปรียบเทียบ Social Support and Quality of Life in Breast Cancer Patients after Treatment in University Hospital: A Comparative Study มณฑา ลิ้มทองกุล บัวหลวง สำแดงฤทธิ์ Montha Limthongkul Bualuang Sumdaengrit การเปรียบเทียบ คุณภาพชีวิต แรงสนับสนุนทางสังคม ผู้ป่วยมะเร็งเต้านมภายหลังการรักษา Comparative Social support Quality of life Breast Cancer after Treatment การวิจัยเชิงบรรยายนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความเเรงสนับสนุนทางสังคมและคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยมะเร็งเต้านมภายหลังการรักษาที่มีปัจจัยส่วนบุคคลแตกต่างกัน กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่มาตรวจติดตามการรักษาในโรงพยาบาลสังกัดมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง ระหว่างเดือนมีนาคม 2555 ถึงเมษายน 2556 จำนวน 128 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ประกอบด้วย 1) แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล โรค การรักษาและการรบกวนของอาการข้างเคียง 2) แบบสอบถามแรงสนับสนุนทางสังคมของโทลจาโมและเฮนติเนน (2001) และ 3) แบบสอบถามคุณภาพชีวิตฉบับภาษาไทยของฟาเรลและคณะ (1997) ค่าความเที่ยงแอลฟา ครอนบาคของแบบสอบถามแรงสนับสนุนทางสังคมและคุณภาพชีวิตเท่ากับ 0.88 และ 0.87 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยายและวิเคราะห์เปรียบเทียบโดยใช้การทดสอบค่าทีและแมนวิทนี ผลการวิจัยพบว่า ค่าเฉลี่ยของเเรงสนับสนุนทางสังคมเท่ากับ 50.58 (SD = 8.39) และคุณภาพชีวิตโดยรวมเท่ากับ 113.49 (SD = 19.18) ผลการศึกษาเปรียบเทียบพบว่า มีความแตกต่างของแรงสนับสนุนทางสังคมและคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยมะเร็งเต้านมภายหลังการรักษาตามความแตกต่างของปัจจัยด้านกลุ่มอายุ สถานภาพการมีคู่สมรส ภาวะสภาพเศรษฐกิจและภาวะการรบกวนของอาการข้างเคียงจากการรักษาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนระยะของโรคและช่วงเวลาภายหลังการรักษา ไม่มีความแตกต่างของเเรงสนับสนุนทางสังคมและคุณภาพชีวิต ผลการวิจัยสามารถนำไปใช้ในการเพิ่มแรงสนับสนุนทางสังคมและคุณภาพชีวิตให้กับผู้ป่วยมะเร็งเต้านมภายหลังการรักษาต่อไป Purposes of this descriptive reserach were to study the comparison of social support and quality of life in different factors of breast cancer patients after treatment. Samples included 128 women who visited for follow up in the university hospital during March 2012 - April 2013. The instruments were 1) the personal disease treatment and symptom distress, 2) social support questionnaires developed by Toljamo and Hentinen (2001), and 3) quality of life for breast cancer questionnaires (FACT-B) Thai version 4 developed by Cella et al. (1997). Cronbach's alpha coefficient for social support and quality of life for breast cancer were .88 and .87. Data were analyzed by descriptive, Independent t-test, and Mann Whitney test. Results found that mean of social support was 50.58 (SD = 8.39) while mean of overall quality of life was 113.49 (SD = 19.18). There were significant different social support separared by illness distress and partner status group at .005. Meanwhile there were significant different between quality of life separated by age group, partner status, financial status, and illness distress at .005. Other factors such as, time after treatment and stage of cancer were not significant different with social support and quality of life in women with breast cancer after treatment. Results from the study could provide evidence to improve social support and quality of life in women with breast cancer after treatment. 2022-09-22T07:15:03Z 2022-09-22T07:15:03Z 2565-09-22 2558 Original Article รามาธิบดีเวชสาร. ปีที่ 38, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มี.ค. 2558), 20-28 0125-3611 (Print) 2651-0561 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79618 tha มหาวิทยาลัยมหิดล โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic การเปรียบเทียบ
คุณภาพชีวิต
แรงสนับสนุนทางสังคม
ผู้ป่วยมะเร็งเต้านมภายหลังการรักษา
Comparative
Social support
Quality of life
Breast Cancer after Treatment
spellingShingle การเปรียบเทียบ
คุณภาพชีวิต
แรงสนับสนุนทางสังคม
ผู้ป่วยมะเร็งเต้านมภายหลังการรักษา
Comparative
Social support
Quality of life
Breast Cancer after Treatment
มณฑา ลิ้มทองกุล
บัวหลวง สำแดงฤทธิ์
Montha Limthongkul
Bualuang Sumdaengrit
แรงสนับสนุนทางสังคมและคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมภายหลังการรักษาในโรงพยาบาลสังกัดมหาวิทยาลัย: การศึกษาเปรียบเทียบ
description การวิจัยเชิงบรรยายนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความเเรงสนับสนุนทางสังคมและคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยมะเร็งเต้านมภายหลังการรักษาที่มีปัจจัยส่วนบุคคลแตกต่างกัน กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่มาตรวจติดตามการรักษาในโรงพยาบาลสังกัดมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง ระหว่างเดือนมีนาคม 2555 ถึงเมษายน 2556 จำนวน 128 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ประกอบด้วย 1) แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล โรค การรักษาและการรบกวนของอาการข้างเคียง 2) แบบสอบถามแรงสนับสนุนทางสังคมของโทลจาโมและเฮนติเนน (2001) และ 3) แบบสอบถามคุณภาพชีวิตฉบับภาษาไทยของฟาเรลและคณะ (1997) ค่าความเที่ยงแอลฟา ครอนบาคของแบบสอบถามแรงสนับสนุนทางสังคมและคุณภาพชีวิตเท่ากับ 0.88 และ 0.87 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยายและวิเคราะห์เปรียบเทียบโดยใช้การทดสอบค่าทีและแมนวิทนี ผลการวิจัยพบว่า ค่าเฉลี่ยของเเรงสนับสนุนทางสังคมเท่ากับ 50.58 (SD = 8.39) และคุณภาพชีวิตโดยรวมเท่ากับ 113.49 (SD = 19.18) ผลการศึกษาเปรียบเทียบพบว่า มีความแตกต่างของแรงสนับสนุนทางสังคมและคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยมะเร็งเต้านมภายหลังการรักษาตามความแตกต่างของปัจจัยด้านกลุ่มอายุ สถานภาพการมีคู่สมรส ภาวะสภาพเศรษฐกิจและภาวะการรบกวนของอาการข้างเคียงจากการรักษาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนระยะของโรคและช่วงเวลาภายหลังการรักษา ไม่มีความแตกต่างของเเรงสนับสนุนทางสังคมและคุณภาพชีวิต ผลการวิจัยสามารถนำไปใช้ในการเพิ่มแรงสนับสนุนทางสังคมและคุณภาพชีวิตให้กับผู้ป่วยมะเร็งเต้านมภายหลังการรักษาต่อไป
format Original Article
author มณฑา ลิ้มทองกุล
บัวหลวง สำแดงฤทธิ์
Montha Limthongkul
Bualuang Sumdaengrit
author_facet มณฑา ลิ้มทองกุล
บัวหลวง สำแดงฤทธิ์
Montha Limthongkul
Bualuang Sumdaengrit
author_sort มณฑา ลิ้มทองกุล
title แรงสนับสนุนทางสังคมและคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมภายหลังการรักษาในโรงพยาบาลสังกัดมหาวิทยาลัย: การศึกษาเปรียบเทียบ
title_short แรงสนับสนุนทางสังคมและคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมภายหลังการรักษาในโรงพยาบาลสังกัดมหาวิทยาลัย: การศึกษาเปรียบเทียบ
title_full แรงสนับสนุนทางสังคมและคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมภายหลังการรักษาในโรงพยาบาลสังกัดมหาวิทยาลัย: การศึกษาเปรียบเทียบ
title_fullStr แรงสนับสนุนทางสังคมและคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมภายหลังการรักษาในโรงพยาบาลสังกัดมหาวิทยาลัย: การศึกษาเปรียบเทียบ
title_full_unstemmed แรงสนับสนุนทางสังคมและคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมภายหลังการรักษาในโรงพยาบาลสังกัดมหาวิทยาลัย: การศึกษาเปรียบเทียบ
title_sort แรงสนับสนุนทางสังคมและคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมภายหลังการรักษาในโรงพยาบาลสังกัดมหาวิทยาลัย: การศึกษาเปรียบเทียบ
publishDate 2022
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79618
_version_ 1763489189473550336