คุณภาพการส่งปรึกษาผู้ป่วยจากเวชศาสตร์ครอบครัวถึงแพทย์เฉพาะทางในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย: การสื่อสารและการดูแลต่อเนื่อง

ความเป็นมา: การส่งต่อผู้ป่วยจากเวชศาสตร์ปฐมภูมิถึงแพทย์เฉพาะทางและการส่งกลับเป็นกระบวนการที่มีความสำคัญในระบบบริการสุขภาพ สำหรับคลินิกเวชศาสตร์ครอบครัว โรงพยาบาลรามาธิบดี มีการส่งต่อผู้ป่วยถึงแพทย์เฉพาะทางอยู่เป็นประจำ ยังไม่มีการศึกษาคุณภาพการส่งต่อผู้ป่วยระหว่างเวชศาสตร์ครอบครัวและแพทย์เฉพาะทาง ว...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ดำรงรัตน์ เลิศรัตนานนท์, แสงศุลี ธรรมไกรสร, สายสุนีย์ ทับทิมเทศ, ธราธิป พุ่มกำพล, สาลิกา สมศรี, Dumrongrat Lertrattananon, Sangsulee Thamakaison, Saisunee Tubtimtes, Taratip Pumkompol, Sarika Somsri
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัว
Format: Original Article
Language:Thai
Published: 2022
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79655
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.79655
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic การส่งปรึกษา
คุณภาพ
เวชศาสตร์ครอบครัว
เวชศาสตร์ปฐมภูมิ
แพทย์เฉพาะทาง
Referral
Quality
Communication
Continuity of care
Family physician
Secondary care
spellingShingle การส่งปรึกษา
คุณภาพ
เวชศาสตร์ครอบครัว
เวชศาสตร์ปฐมภูมิ
แพทย์เฉพาะทาง
Referral
Quality
Communication
Continuity of care
Family physician
Secondary care
ดำรงรัตน์ เลิศรัตนานนท์
แสงศุลี ธรรมไกรสร
สายสุนีย์ ทับทิมเทศ
ธราธิป พุ่มกำพล
สาลิกา สมศรี
Dumrongrat Lertrattananon
Sangsulee Thamakaison
Saisunee Tubtimtes
Taratip Pumkompol
Sarika Somsri
คุณภาพการส่งปรึกษาผู้ป่วยจากเวชศาสตร์ครอบครัวถึงแพทย์เฉพาะทางในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย: การสื่อสารและการดูแลต่อเนื่อง
description ความเป็นมา: การส่งต่อผู้ป่วยจากเวชศาสตร์ปฐมภูมิถึงแพทย์เฉพาะทางและการส่งกลับเป็นกระบวนการที่มีความสำคัญในระบบบริการสุขภาพ สำหรับคลินิกเวชศาสตร์ครอบครัว โรงพยาบาลรามาธิบดี มีการส่งต่อผู้ป่วยถึงแพทย์เฉพาะทางอยู่เป็นประจำ ยังไม่มีการศึกษาคุณภาพการส่งต่อผู้ป่วยระหว่างเวชศาสตร์ครอบครัวและแพทย์เฉพาะทาง วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาคุณภาพการส่งต่อผู้ป่วยจากเวชศาสตร์ครอบครัวถึงแพทย์เฉพาะทาง ในด้านกระบวนการส่งต่อการสื่อสารกันระหว่างแพทย์และการดูแลต่อเนื่องที่ผู้ป่วยได้รับ วิธีวิจัย: Cross-sectional descriptive study ด้วยการทบทวนเวชระเบียนผู้ป่วยที่ถูกส่งปรึกษาจากแผนกเวชศาสตร์ครอบครัวไปยังแผนกอายุรกรรม ในช่วงเวลา 1 ปี ตั้งแต่ 1 มกราคม 2553 - 31 ธันวาคม 2553 โดยทำการสุ่มตัวอย่างจำนวน 483 ราย จาก 2,714 ราย โดยวิธี simple random sampling วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าสถิติเชิงพรรณนา ผลการศึกษา: มากกว่าร้อยละ 80 ของการส่งปรึกษาอายุรกรรม เป็นการส่งปรึกษาไปยังอายุรกรรม 6 สาขา ได้แก่ สาขาโรคทางเดินอาหาร (ร้อยละ 21.95) โรคหัวใจ (ร้อยละ 17.18) โรคระบบประสาท (ร้อยละ 13.87) โรคปอด (ร้อยละ 11.59) โรคต่อมไร้ท่อ (ร้อยละ 8.7) และโรคไต (ร้อยละ 7.87) ผู้ป่วยร้อยละ 87.78 ได้พบแพทย์เฉพาะทาง ระยะเวลารอคอยเฉลี่ย คือ 18.27 วัน ร้อยละ 82.23 ของการส่งต่อไม่ได้ระบุเหตุผลของการส่งต่อ และร้อยละ 13.22 ไม่ระบุปัญหาที่ส่งปรึกษาหรือระบุไม่ชัดเจน ร้อยละ 20.08 ของการส่งปรึกษาเร็วเกินไป พบการสื่อสารกลับจากแพทย์เฉพาะทางถึงแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวเพียงร้อยละ 14.08 และเพียงร้อยละ 3.73 ของผู้ป่วยที่ส่งปรึกษาถูกส่งกลับมาให้แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวดูแลต่อเนื่อง ร้อยละ 23.6 ของการส่งปรึกษา แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวอาจจะสามารถดูแลรักษาผู้ป่วยได้เองโดยไม่จำเป็นต้องส่งต่อ สรุปผล: ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพการส่งต่อ เช่น การระบุปัญหาที่ส่งปรึกษาไม่ชัดเจน ส่งปรึกษาเร็วเกินไป ขาดการสื่อสารกลับจากแพทย์เฉพาะทาง ควรนำแบบฟอร์มการส่งปรึกษามาใช้ และสร้างระบบการสื่อสารกลับจากแพทย์เฉพาะทางเวชศาสตร์ครอบครัว เกือบ 1 ใน 4 ของการส่งต่ออาจจะหลีกเลี่ยงได้ โดยสร้างแนวทางการดูแลรักษาโรคหรือปัญหาที่พบบ่อย และเพิ่มพูนความรู้ของแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวผ่านการฝึกอบรมต่างๆ
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัว
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัว
ดำรงรัตน์ เลิศรัตนานนท์
แสงศุลี ธรรมไกรสร
สายสุนีย์ ทับทิมเทศ
ธราธิป พุ่มกำพล
สาลิกา สมศรี
Dumrongrat Lertrattananon
Sangsulee Thamakaison
Saisunee Tubtimtes
Taratip Pumkompol
Sarika Somsri
format Original Article
author ดำรงรัตน์ เลิศรัตนานนท์
แสงศุลี ธรรมไกรสร
สายสุนีย์ ทับทิมเทศ
ธราธิป พุ่มกำพล
สาลิกา สมศรี
Dumrongrat Lertrattananon
Sangsulee Thamakaison
Saisunee Tubtimtes
Taratip Pumkompol
Sarika Somsri
author_sort ดำรงรัตน์ เลิศรัตนานนท์
title คุณภาพการส่งปรึกษาผู้ป่วยจากเวชศาสตร์ครอบครัวถึงแพทย์เฉพาะทางในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย: การสื่อสารและการดูแลต่อเนื่อง
title_short คุณภาพการส่งปรึกษาผู้ป่วยจากเวชศาสตร์ครอบครัวถึงแพทย์เฉพาะทางในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย: การสื่อสารและการดูแลต่อเนื่อง
title_full คุณภาพการส่งปรึกษาผู้ป่วยจากเวชศาสตร์ครอบครัวถึงแพทย์เฉพาะทางในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย: การสื่อสารและการดูแลต่อเนื่อง
title_fullStr คุณภาพการส่งปรึกษาผู้ป่วยจากเวชศาสตร์ครอบครัวถึงแพทย์เฉพาะทางในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย: การสื่อสารและการดูแลต่อเนื่อง
title_full_unstemmed คุณภาพการส่งปรึกษาผู้ป่วยจากเวชศาสตร์ครอบครัวถึงแพทย์เฉพาะทางในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย: การสื่อสารและการดูแลต่อเนื่อง
title_sort คุณภาพการส่งปรึกษาผู้ป่วยจากเวชศาสตร์ครอบครัวถึงแพทย์เฉพาะทางในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย: การสื่อสารและการดูแลต่อเนื่อง
publishDate 2022
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79655
_version_ 1763491215909584896
spelling th-mahidol.796552023-03-30T13:36:37Z คุณภาพการส่งปรึกษาผู้ป่วยจากเวชศาสตร์ครอบครัวถึงแพทย์เฉพาะทางในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย: การสื่อสารและการดูแลต่อเนื่อง Quality of Referrals from Family Medicine to Secondary Care in a University Hospital: Communication and Continuity of Care ดำรงรัตน์ เลิศรัตนานนท์ แสงศุลี ธรรมไกรสร สายสุนีย์ ทับทิมเทศ ธราธิป พุ่มกำพล สาลิกา สมศรี Dumrongrat Lertrattananon Sangsulee Thamakaison Saisunee Tubtimtes Taratip Pumkompol Sarika Somsri มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาพยาบาลศาสตร์ การส่งปรึกษา คุณภาพ เวชศาสตร์ครอบครัว เวชศาสตร์ปฐมภูมิ แพทย์เฉพาะทาง Referral Quality Communication Continuity of care Family physician Secondary care ความเป็นมา: การส่งต่อผู้ป่วยจากเวชศาสตร์ปฐมภูมิถึงแพทย์เฉพาะทางและการส่งกลับเป็นกระบวนการที่มีความสำคัญในระบบบริการสุขภาพ สำหรับคลินิกเวชศาสตร์ครอบครัว โรงพยาบาลรามาธิบดี มีการส่งต่อผู้ป่วยถึงแพทย์เฉพาะทางอยู่เป็นประจำ ยังไม่มีการศึกษาคุณภาพการส่งต่อผู้ป่วยระหว่างเวชศาสตร์ครอบครัวและแพทย์เฉพาะทาง วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาคุณภาพการส่งต่อผู้ป่วยจากเวชศาสตร์ครอบครัวถึงแพทย์เฉพาะทาง ในด้านกระบวนการส่งต่อการสื่อสารกันระหว่างแพทย์และการดูแลต่อเนื่องที่ผู้ป่วยได้รับ วิธีวิจัย: Cross-sectional descriptive study ด้วยการทบทวนเวชระเบียนผู้ป่วยที่ถูกส่งปรึกษาจากแผนกเวชศาสตร์ครอบครัวไปยังแผนกอายุรกรรม ในช่วงเวลา 1 ปี ตั้งแต่ 1 มกราคม 2553 - 31 ธันวาคม 2553 โดยทำการสุ่มตัวอย่างจำนวน 483 ราย จาก 2,714 ราย โดยวิธี simple random sampling วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าสถิติเชิงพรรณนา ผลการศึกษา: มากกว่าร้อยละ 80 ของการส่งปรึกษาอายุรกรรม เป็นการส่งปรึกษาไปยังอายุรกรรม 6 สาขา ได้แก่ สาขาโรคทางเดินอาหาร (ร้อยละ 21.95) โรคหัวใจ (ร้อยละ 17.18) โรคระบบประสาท (ร้อยละ 13.87) โรคปอด (ร้อยละ 11.59) โรคต่อมไร้ท่อ (ร้อยละ 8.7) และโรคไต (ร้อยละ 7.87) ผู้ป่วยร้อยละ 87.78 ได้พบแพทย์เฉพาะทาง ระยะเวลารอคอยเฉลี่ย คือ 18.27 วัน ร้อยละ 82.23 ของการส่งต่อไม่ได้ระบุเหตุผลของการส่งต่อ และร้อยละ 13.22 ไม่ระบุปัญหาที่ส่งปรึกษาหรือระบุไม่ชัดเจน ร้อยละ 20.08 ของการส่งปรึกษาเร็วเกินไป พบการสื่อสารกลับจากแพทย์เฉพาะทางถึงแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวเพียงร้อยละ 14.08 และเพียงร้อยละ 3.73 ของผู้ป่วยที่ส่งปรึกษาถูกส่งกลับมาให้แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวดูแลต่อเนื่อง ร้อยละ 23.6 ของการส่งปรึกษา แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวอาจจะสามารถดูแลรักษาผู้ป่วยได้เองโดยไม่จำเป็นต้องส่งต่อ สรุปผล: ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพการส่งต่อ เช่น การระบุปัญหาที่ส่งปรึกษาไม่ชัดเจน ส่งปรึกษาเร็วเกินไป ขาดการสื่อสารกลับจากแพทย์เฉพาะทาง ควรนำแบบฟอร์มการส่งปรึกษามาใช้ และสร้างระบบการสื่อสารกลับจากแพทย์เฉพาะทางเวชศาสตร์ครอบครัว เกือบ 1 ใน 4 ของการส่งต่ออาจจะหลีกเลี่ยงได้ โดยสร้างแนวทางการดูแลรักษาโรคหรือปัญหาที่พบบ่อย และเพิ่มพูนความรู้ของแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวผ่านการฝึกอบรมต่างๆ Objective: To study the quality of referrals made from Family Medicine Department to Secondary Care Medicine atRamathibodi Hospital, Bangkok. Methods: Cross-sectional descriptive study. Of 2,714 patients who were referred between 1 January and 31 December 2010, 483 patients were sampled and reviewed. Results: About 80% of the referrals were made to 6 subspecialties: gastroenterology (21.95%), cardiology (17.18%), neurology (13.87%), pulmonology (11.59%), endocrinology (8.7%) and nephrology (7.87%). Consultations were done in 87.78% of the referrals. The mean waiting time was 18.27 days. 82.23% did not record a reason for referral and 13.22% did not make the referring problem clear. About 20 percent of referrals were made too early. Feedback from a specialist was provided in only 14.08% of cases. And only 3.73% of patients were sent back to family physicians. The retrospective review suggested that 23.6% of cases could have been managed by family physicians. Conclusions: Several problems regarding quality of referrals were identified. Referral form and structured feedback from specialists should be introduced. One in four referrals could potentially be avoided by developing guidelines for managing commonly referred problems and by strengthening the knowledge of family physicians and residents through training programs. 2022-09-26T04:09:29Z 2022-09-26T04:09:29Z 2565-09-26 2558 Original Article รามาธิบดีเวชสาร. ปีที่ 38, ฉบับที่ 4 (ต.ค.-ธ.ค. 2558), 274-283 0125-3611 (Print) 2651-0561 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79655 tha มหาวิทยาลัยมหิดล ภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัว คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ภาควิชาพยาบาลศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf