การบำบัดความปวดเฉียบพลันด้วยเครื่อง Patient-Controlled Analgesia (PCA)
การบำบัดความปวดเฉียบพลันมีความสำคัญมากในเวชปฏิบัติ เนื่องจากเป็นปัญหาที่พบบ่อยแพทย์จึงควรมีความรู้ความเข้าใจถึงหลักการและวิธีการบำบัดความปวดเฉียบพลัน เพื่อสามารถบำบัดความปวดได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้ผู้ป่วยมีอาการปวดน้อยลง ตลอดจนลดอาการข้างเคียงจากความปวดและความทุกข์ทรมานของผู้ป่วย การให้ยาระงั...
Saved in:
Main Authors: | , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Review Article |
Language: | Thai |
Published: |
2022
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79755 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
Summary: | การบำบัดความปวดเฉียบพลันมีความสำคัญมากในเวชปฏิบัติ เนื่องจากเป็นปัญหาที่พบบ่อยแพทย์จึงควรมีความรู้ความเข้าใจถึงหลักการและวิธีการบำบัดความปวดเฉียบพลัน เพื่อสามารถบำบัดความปวดได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้ผู้ป่วยมีอาการปวดน้อยลง ตลอดจนลดอาการข้างเคียงจากความปวดและความทุกข์ทรมานของผู้ป่วย
การให้ยาระงับปวดทางหลอดเลือดดำเป็นวิธีที่นิยมใช้ในการควบคุมความปวดเฉียบพลันในโรงพยาบาล เนื่องจากเป็นวิธีที่ได้ผลดี แต่การตอบสนองนั้นมีความแตกต่างอย่างมากในแต่ละบุคคล ทั้งผู้ป่วยที่มีผลข้างเคียงจากยาระงับปวดได้ง่าย เช่น หลับ หรือหายใจน้อยลง และบางกรณีผู้ป่วยต้องการยาระงับปวดปริมาณมาก จึงมีการพัฒนาวิธีการให้ยาระงับปวดโดยให้ผู้ป่วยเป็นผู้ประเมินและให้ยาระงับปวดได้ด้วยตนเอง โดยใช้เครื่อง Patient-Controlled Analgesia (เครื่อง PCA) โดยแพทย์เป็นผู้เลือกชนิดของยาระงับปวดและตั้งค่าของเครื่อง PCA
ในบทความนี้ครอบคลุมถึงหลักการบำบัดความปวดเฉียบพลัน การประเมินความปวดเฉียบพลันและวิธีการบำบัดความปวดด้วยเครื่อง PCA |
---|