ความสัมพันธ์ระหว่างอาการปวดประจำเดือนกับการทำงานเป็นกะในพยาบาลไทย

บทนำ: อาการปวดประจำเดือนเป็นปัญหาทางด้านสุขภาพที่พบได้บ่อยปัญหาหนึ่งในผู้หญิงวัยเจริญพันธุ์ และอาจส่งผลพยาบาลที่มีประสบการณ์ความเครียดจากการทำงาน ซึ่งโดยส่วนใหญ่พยาบาลมักทำงานเป็นกะซึ่งรวมถึงการเข้าเวรตอนกะดึก โดยอาจรบกวนการทำงานของการผลิตฮอร์โมนจากการเปลี่ยนแปลงจังหวะวงจรการทำงานของร่างกาย วัตถุปร...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: เบญจมาภรณ์ บุตรศรีภูมิ, ศรีเวียงแก้ว เต็งเกียรติ์ตระกูล, Benjamaporn Butsripoom, Sriwiengkaew Tengkiattrakul
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาพยาบาลศาสตร์
Format: Original Article
Language:Thai
Published: 2022
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79819
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.79819
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic Dysmenorrhea Menstrual symptom
Shift work
spellingShingle Dysmenorrhea Menstrual symptom
Shift work
เบญจมาภรณ์ บุตรศรีภูมิ
ศรีเวียงแก้ว เต็งเกียรติ์ตระกูล
Benjamaporn Butsripoom
Sriwiengkaew Tengkiattrakul
ความสัมพันธ์ระหว่างอาการปวดประจำเดือนกับการทำงานเป็นกะในพยาบาลไทย
description บทนำ: อาการปวดประจำเดือนเป็นปัญหาทางด้านสุขภาพที่พบได้บ่อยปัญหาหนึ่งในผู้หญิงวัยเจริญพันธุ์ และอาจส่งผลพยาบาลที่มีประสบการณ์ความเครียดจากการทำงาน ซึ่งโดยส่วนใหญ่พยาบาลมักทำงานเป็นกะซึ่งรวมถึงการเข้าเวรตอนกะดึก โดยอาจรบกวนการทำงานของการผลิตฮอร์โมนจากการเปลี่ยนแปลงจังหวะวงจรการทำงานของร่างกาย วัตถุประสงค์: เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างอาการปวดประจำเดือนกับการทำงานเป็นกะในพยาบาลไทย วิธีการศึกษา: การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบหาความสัมพันธ์โดยการเก็บข้อมูลการเกิดอาการและความรุนแรงของอาการปวดประจำเดือนแบบไปข้างหน้า กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลจำนวน 161 คน อายุระหว่าง 20-45 ปี จากโรงพยาบาล 4 แห่งในกรุงเทพมหานคร โดยกลุ่มตัวอย่างบันทึกข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับอาการปวดประจำเดือนด้วยตนเองโดยใช้แบบบันทึกสุขภาพประจำวัน (DHD) เป็นระยะเวลา 2 รอบของการมีรอบเดือน โดยใช้สถิติ Binary logistic regression วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างการทำงานเป็นกะกับอาการปวดประจำเดือน ผลการศึกษา: พบว่ามีความชุกของอาการปวดประจำเดือนในพยาบาลไทยร้อยละ 36.5 อาการที่เกี่ยวข้องกับอาการปวดประจำเดือนที่พบบ่อยได้แก่ ปวดท้อง ไม่สบายท้องร้อยละ 78 ปวดหลังร้อยละ 76.3 รู้สึกเพลีย เหนื่อยล้าร้อยละ 66.1 ปวดหรือเจ็บตามร่างกายทั่วๆ ไปร้อยละ 59.3 หงุดหงิดง่ายร้อยละ 59.3 อารมณ์เปลี่ยนแปลงง่ายร้อยละ 55.9 ปวดศีรษะร้อยละ 50.8 รับประทานอาหารได้มากขึ้นร้อยละ 45.8 อยากรับประทานอาหารบางอย่างเป็นพิเศษร้อยละ 44.1 ท้องเสียร้อยละ 42.4 มีความรู้สึกอยากรับประทานอาหารน้อยลงร้อยละ 33.9 และขาดความอดทนร้อยละ 32.2 พยาบาลที่ทำงานเป็นกะทั้งกลางวันและกลางคืนพบประมาณร้อยละ 64 ส่วนพยาบาลที่ทำงานเฉพาะกะเช้าพบร้อยละ 36.3 ผลการวิจัยพบว่าการทำงานเป็นกะทั้งกลางวันและกลางคืนมีความสัมพันธ์กันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติกับอาการปวดประจำเดือนเมื่อเทียบกับกลุ่มพยาบาลที่ทำงานเฉพาะเวลากลางวัน สรุป: ผู้หญิงนอกจากจะประสบกับอาการปวดประจำเดือนแล้ว ยังพบว่ามีอาการอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับอาการปวดประจำเดือนในแต่ละรอบเดือนร่วมด้วย แม้ว่าไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างการทำงานเป็นกะกับอาการปวดประจำเดือนในพยาบาล แต่ไม่ควรมองข้ามพยาบาลที่ได้รับผลกระทบจากอาการปวดประจำเดือน
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาพยาบาลศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาพยาบาลศาสตร์
เบญจมาภรณ์ บุตรศรีภูมิ
ศรีเวียงแก้ว เต็งเกียรติ์ตระกูล
Benjamaporn Butsripoom
Sriwiengkaew Tengkiattrakul
format Original Article
author เบญจมาภรณ์ บุตรศรีภูมิ
ศรีเวียงแก้ว เต็งเกียรติ์ตระกูล
Benjamaporn Butsripoom
Sriwiengkaew Tengkiattrakul
author_sort เบญจมาภรณ์ บุตรศรีภูมิ
title ความสัมพันธ์ระหว่างอาการปวดประจำเดือนกับการทำงานเป็นกะในพยาบาลไทย
title_short ความสัมพันธ์ระหว่างอาการปวดประจำเดือนกับการทำงานเป็นกะในพยาบาลไทย
title_full ความสัมพันธ์ระหว่างอาการปวดประจำเดือนกับการทำงานเป็นกะในพยาบาลไทย
title_fullStr ความสัมพันธ์ระหว่างอาการปวดประจำเดือนกับการทำงานเป็นกะในพยาบาลไทย
title_full_unstemmed ความสัมพันธ์ระหว่างอาการปวดประจำเดือนกับการทำงานเป็นกะในพยาบาลไทย
title_sort ความสัมพันธ์ระหว่างอาการปวดประจำเดือนกับการทำงานเป็นกะในพยาบาลไทย
publishDate 2022
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79819
_version_ 1763487797544484864
spelling th-mahidol.798192023-03-30T18:36:22Z ความสัมพันธ์ระหว่างอาการปวดประจำเดือนกับการทำงานเป็นกะในพยาบาลไทย The Relationship between Dysmenorrhea and Shift Work in Thai Nurses เบญจมาภรณ์ บุตรศรีภูมิ ศรีเวียงแก้ว เต็งเกียรติ์ตระกูล Benjamaporn Butsripoom Sriwiengkaew Tengkiattrakul มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาพยาบาลศาสตร์ Dysmenorrhea Menstrual symptom Shift work บทนำ: อาการปวดประจำเดือนเป็นปัญหาทางด้านสุขภาพที่พบได้บ่อยปัญหาหนึ่งในผู้หญิงวัยเจริญพันธุ์ และอาจส่งผลพยาบาลที่มีประสบการณ์ความเครียดจากการทำงาน ซึ่งโดยส่วนใหญ่พยาบาลมักทำงานเป็นกะซึ่งรวมถึงการเข้าเวรตอนกะดึก โดยอาจรบกวนการทำงานของการผลิตฮอร์โมนจากการเปลี่ยนแปลงจังหวะวงจรการทำงานของร่างกาย วัตถุประสงค์: เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างอาการปวดประจำเดือนกับการทำงานเป็นกะในพยาบาลไทย วิธีการศึกษา: การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบหาความสัมพันธ์โดยการเก็บข้อมูลการเกิดอาการและความรุนแรงของอาการปวดประจำเดือนแบบไปข้างหน้า กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลจำนวน 161 คน อายุระหว่าง 20-45 ปี จากโรงพยาบาล 4 แห่งในกรุงเทพมหานคร โดยกลุ่มตัวอย่างบันทึกข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับอาการปวดประจำเดือนด้วยตนเองโดยใช้แบบบันทึกสุขภาพประจำวัน (DHD) เป็นระยะเวลา 2 รอบของการมีรอบเดือน โดยใช้สถิติ Binary logistic regression วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างการทำงานเป็นกะกับอาการปวดประจำเดือน ผลการศึกษา: พบว่ามีความชุกของอาการปวดประจำเดือนในพยาบาลไทยร้อยละ 36.5 อาการที่เกี่ยวข้องกับอาการปวดประจำเดือนที่พบบ่อยได้แก่ ปวดท้อง ไม่สบายท้องร้อยละ 78 ปวดหลังร้อยละ 76.3 รู้สึกเพลีย เหนื่อยล้าร้อยละ 66.1 ปวดหรือเจ็บตามร่างกายทั่วๆ ไปร้อยละ 59.3 หงุดหงิดง่ายร้อยละ 59.3 อารมณ์เปลี่ยนแปลงง่ายร้อยละ 55.9 ปวดศีรษะร้อยละ 50.8 รับประทานอาหารได้มากขึ้นร้อยละ 45.8 อยากรับประทานอาหารบางอย่างเป็นพิเศษร้อยละ 44.1 ท้องเสียร้อยละ 42.4 มีความรู้สึกอยากรับประทานอาหารน้อยลงร้อยละ 33.9 และขาดความอดทนร้อยละ 32.2 พยาบาลที่ทำงานเป็นกะทั้งกลางวันและกลางคืนพบประมาณร้อยละ 64 ส่วนพยาบาลที่ทำงานเฉพาะกะเช้าพบร้อยละ 36.3 ผลการวิจัยพบว่าการทำงานเป็นกะทั้งกลางวันและกลางคืนมีความสัมพันธ์กันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติกับอาการปวดประจำเดือนเมื่อเทียบกับกลุ่มพยาบาลที่ทำงานเฉพาะเวลากลางวัน สรุป: ผู้หญิงนอกจากจะประสบกับอาการปวดประจำเดือนแล้ว ยังพบว่ามีอาการอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับอาการปวดประจำเดือนในแต่ละรอบเดือนร่วมด้วย แม้ว่าไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างการทำงานเป็นกะกับอาการปวดประจำเดือนในพยาบาล แต่ไม่ควรมองข้ามพยาบาลที่ได้รับผลกระทบจากอาการปวดประจำเดือน Background: Dysmenorrhea is a common health problem among reproductive women, and may affect female nurse experiencing stress from their occupation. Mostly, nurses were employed on shift work involving night work which may disrupt hormone production due to circadian rhythms changing. Objective: This study aimed to examine the relationship between dysmenorrhea and shift work in Thai nurses. Method: The prospective correlational design was used to investigate the occurrence and intensity of dysmenorrhea. One hundred and sixty-one, 20-45 year old. Thai nurses were recruited from four hospitals in Bangkok. Data related to occurrence and intensity of menstruation were obtained, for two consecutive menstrual cycles by the use of the Women’s Daily Health Diary (DHD). Binary logistic regression was used to identify shift work and dysmenorrhea. Results: The prevalence of dysmenorrhea in Thai nurse was 36.5%. The most common associated symptoms were abdominal pain or discomfort (78%), backache (76.3%), fatigue (66.1%), general aches (59.3%), irritability (59.3%), rapid mood change (55.9%), headache (50.8%), increased appetite (45.8%), increased food intake (45.8%), craving for specific food (44.1%), diarrhea (42.4%), decreased appetite (33.9%), and impatient (32.2%). About sixty four percent of nurses had work schedule both day and night shift and 36.3% worked only day shift. There is no statistically significant relationship between dysmenorrhea and shift work in Thai nurses. Conclusion: Not only dysmenorrhea, but also other associated symptoms could affect on women for each month. Although the association between dysmenorrhea and shift work in nurses was not found, the nurse who affected from dysmenorrhea should be concerned. 2022-10-05T05:36:21Z 2022-10-05T05:36:21Z 2565-10-05 2554 Original Article 0125-3611 (Print) 2651-0561 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79819 tha มหาวิทยาลัยมหิดล ภาควิชาพยาบาลศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf