การดูแลผู้สูงอายุที่หกล้มบ่อยในเวชศาสตร์ครอบครัว
ความรู้ ความเข้าใจในปัญหาการหกล้มรวมถึงการให้ความสำคัญในผู้สูงอายุยังไม่เพียงพออยู่ค่อนข้างมาก ทั้งในส่วนของผู้สูงอายุและครอบครัว ชุมชนและสังคม รวมทั้งแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ การหกล้มมีทั้งเกิดการบาดเจ็บรุนแรงและไม่รุนแรง การหกล้มเปรียบได้กับสัญลักษณ์ที่บอกว่า ผู้สูงอายุรายนั้นน่าจะมีปัญหาภายในที...
Saved in:
Main Authors: | , , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Review Article |
Language: | Thai |
Published: |
2022
|
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79846 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.79846 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-mahidol.798462023-03-30T20:12:51Z การดูแลผู้สูงอายุที่หกล้มบ่อยในเวชศาสตร์ครอบครัว Caring Falling Elderly Patients in Primary Care จิตติมา บุญเกิด ไตรรัตน์ จารุทัศน์ Chitima Boongird Trirat Jarutach มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัว ความรู้ ความเข้าใจในปัญหาการหกล้มรวมถึงการให้ความสำคัญในผู้สูงอายุยังไม่เพียงพออยู่ค่อนข้างมาก ทั้งในส่วนของผู้สูงอายุและครอบครัว ชุมชนและสังคม รวมทั้งแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ การหกล้มมีทั้งเกิดการบาดเจ็บรุนแรงและไม่รุนแรง การหกล้มเปรียบได้กับสัญลักษณ์ที่บอกว่า ผู้สูงอายุรายนั้นน่าจะมีปัญหาภายในที่นำไปสู่การเสียชีวิตที่เพิ่มขึ้น ในความเป็นจริงมีผู้สูงอายุจำนวนมากที่หกล้มแล้วไม่ได้มารายงานให้แพทย์ทราบ โดยเฉพาะถ้าหกล้มนั้นไม่มีการบาดเจ็บเกิดขึ้นอย่างชัดเจน ขณะเดียวกันแพทย์ก็อาจจะไม่ได้ถามเรื่องการหกล้มของผู้ป่วยในระหว่างการติดตามการรักษา นอกจากนั้น แพทย์ที่ดูแลรักษาผู้ป่วยเมื่อมีการหกล้มและบาดเจ็บมักมุ่งให้ความสนใจเฉพาะเรื่องการบาดเจ็บจากการหกล้มและแก้ปัญหาเฉพาะหน้าที่เกิดขึ้น โดยไม่ได้มองหาสาเหตุที่ทำให้ผู้สูงอายุหกล้มเพื่อนำไปสู้การป้องกันการหกล้มที่อาจเกิดขึ้นได้อีก การค้นหาสาเหตุและวางแผนการป้องกันการหกล้มต้องอาศัยความเข้าใจในตัวผู้ป่วยสูงอายุและครอบครัวอย่างแท้จริง แพทย์ดูแลจึงสามารถสร้างที่จะวางแผนการช่วยเหลือได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม มีข้อมูลงานวิจัยทั้งในประเทศและต่างประเทศ กล่าวถึง ขบวนการบรรเทาปัญหาในหลายๆ ปัจจัย (Multi-factorial intervention) คือ การเข้าไปช่วยเหลือผู้สูงอายุและครอบครัวให้เกิดความจริง ทั้งในส่วนการลดยาระงับประสาทหรือยาอื่นๆ ที่ไม่จำเป็น การทำกายภาพบำบัดที่เหมาะสม และการเข้าไปปรับปรุงที่อยู่อาศัยในกลุ่มที่มีปัญหาในการเดินหรือการเคลื่อนไหวที่ผิดปกติ สามารถช่วยลดการหกล้มได้อย่างมีนัยสำคัญ การเห็นผู้สูงอายุที่ล้มแล้วล้มอีกนั้น เห็นได้ว่าเป็นความทุกข์ระทมที่ผู้สูงอายุหลายคนเก็บไว้หรือแม้แต่บางครอบครัวรู้สึกว่าเป็นเรื่องที่ไม่รู้จะแก้ไขอย่างไร ซึ่งแท้จริงมีความสำคัญมากที่การแก้ปัญหานั้นทุกฝ่ายต้องช่วยกัน บอกเล่าเรื่องราวให้แพทย์ได้รับทราบ แพทย์และบุคลากรเห็นว่าต้องหาสาเหตุ และเข้าไปให้ความช่วยเหลือบรรเทาหรือแก้ไขปัจจัยต่างๆ ให้ดีขึ้นเห็นได้จริง ชุมชนและสังคมเห็นความสำคัญเช่นกัน ก็จะเกิดความต่อเนื่องในการสร้างเกิดการตระหนักในการดูแลผู้สูงอายุร่วมกัน เพื่อป้องกันการหกล้มเหมือนการป้องกันและเฝ้าระวังโรคหัวใจ โรคเส้นเลือดในสมอง ก็จะพบได้ว่า แท้จริงแล้วเรื่องนี้ทุกคนทำให้ปัญหาน้อยลงและบรรเทาลงได้ 2022-10-10T05:40:01Z 2022-10-10T05:40:01Z 2565-10-10 2554 Review Article รามาธิบดีเวชสาร. ปีที่ 34, ฉบับที่ 4 (ต.ค.-ธ.ค. 2554), 245-253 0125-3611 (Print) 2651-0561 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79846 tha มหาวิทยาลัยมหิดล ภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัว คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
description |
ความรู้ ความเข้าใจในปัญหาการหกล้มรวมถึงการให้ความสำคัญในผู้สูงอายุยังไม่เพียงพออยู่ค่อนข้างมาก ทั้งในส่วนของผู้สูงอายุและครอบครัว ชุมชนและสังคม รวมทั้งแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ การหกล้มมีทั้งเกิดการบาดเจ็บรุนแรงและไม่รุนแรง การหกล้มเปรียบได้กับสัญลักษณ์ที่บอกว่า ผู้สูงอายุรายนั้นน่าจะมีปัญหาภายในที่นำไปสู่การเสียชีวิตที่เพิ่มขึ้น ในความเป็นจริงมีผู้สูงอายุจำนวนมากที่หกล้มแล้วไม่ได้มารายงานให้แพทย์ทราบ โดยเฉพาะถ้าหกล้มนั้นไม่มีการบาดเจ็บเกิดขึ้นอย่างชัดเจน ขณะเดียวกันแพทย์ก็อาจจะไม่ได้ถามเรื่องการหกล้มของผู้ป่วยในระหว่างการติดตามการรักษา นอกจากนั้น แพทย์ที่ดูแลรักษาผู้ป่วยเมื่อมีการหกล้มและบาดเจ็บมักมุ่งให้ความสนใจเฉพาะเรื่องการบาดเจ็บจากการหกล้มและแก้ปัญหาเฉพาะหน้าที่เกิดขึ้น โดยไม่ได้มองหาสาเหตุที่ทำให้ผู้สูงอายุหกล้มเพื่อนำไปสู้การป้องกันการหกล้มที่อาจเกิดขึ้นได้อีก การค้นหาสาเหตุและวางแผนการป้องกันการหกล้มต้องอาศัยความเข้าใจในตัวผู้ป่วยสูงอายุและครอบครัวอย่างแท้จริง แพทย์ดูแลจึงสามารถสร้างที่จะวางแผนการช่วยเหลือได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
มีข้อมูลงานวิจัยทั้งในประเทศและต่างประเทศ กล่าวถึง ขบวนการบรรเทาปัญหาในหลายๆ ปัจจัย (Multi-factorial intervention) คือ การเข้าไปช่วยเหลือผู้สูงอายุและครอบครัวให้เกิดความจริง ทั้งในส่วนการลดยาระงับประสาทหรือยาอื่นๆ ที่ไม่จำเป็น การทำกายภาพบำบัดที่เหมาะสม และการเข้าไปปรับปรุงที่อยู่อาศัยในกลุ่มที่มีปัญหาในการเดินหรือการเคลื่อนไหวที่ผิดปกติ สามารถช่วยลดการหกล้มได้อย่างมีนัยสำคัญ
การเห็นผู้สูงอายุที่ล้มแล้วล้มอีกนั้น เห็นได้ว่าเป็นความทุกข์ระทมที่ผู้สูงอายุหลายคนเก็บไว้หรือแม้แต่บางครอบครัวรู้สึกว่าเป็นเรื่องที่ไม่รู้จะแก้ไขอย่างไร ซึ่งแท้จริงมีความสำคัญมากที่การแก้ปัญหานั้นทุกฝ่ายต้องช่วยกัน บอกเล่าเรื่องราวให้แพทย์ได้รับทราบ แพทย์และบุคลากรเห็นว่าต้องหาสาเหตุ และเข้าไปให้ความช่วยเหลือบรรเทาหรือแก้ไขปัจจัยต่างๆ ให้ดีขึ้นเห็นได้จริง ชุมชนและสังคมเห็นความสำคัญเช่นกัน ก็จะเกิดความต่อเนื่องในการสร้างเกิดการตระหนักในการดูแลผู้สูงอายุร่วมกัน เพื่อป้องกันการหกล้มเหมือนการป้องกันและเฝ้าระวังโรคหัวใจ โรคเส้นเลือดในสมอง ก็จะพบได้ว่า แท้จริงแล้วเรื่องนี้ทุกคนทำให้ปัญหาน้อยลงและบรรเทาลงได้ |
author2 |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัว |
author_facet |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัว จิตติมา บุญเกิด ไตรรัตน์ จารุทัศน์ Chitima Boongird Trirat Jarutach |
format |
Review Article |
author |
จิตติมา บุญเกิด ไตรรัตน์ จารุทัศน์ Chitima Boongird Trirat Jarutach |
spellingShingle |
จิตติมา บุญเกิด ไตรรัตน์ จารุทัศน์ Chitima Boongird Trirat Jarutach การดูแลผู้สูงอายุที่หกล้มบ่อยในเวชศาสตร์ครอบครัว |
author_sort |
จิตติมา บุญเกิด |
title |
การดูแลผู้สูงอายุที่หกล้มบ่อยในเวชศาสตร์ครอบครัว |
title_short |
การดูแลผู้สูงอายุที่หกล้มบ่อยในเวชศาสตร์ครอบครัว |
title_full |
การดูแลผู้สูงอายุที่หกล้มบ่อยในเวชศาสตร์ครอบครัว |
title_fullStr |
การดูแลผู้สูงอายุที่หกล้มบ่อยในเวชศาสตร์ครอบครัว |
title_full_unstemmed |
การดูแลผู้สูงอายุที่หกล้มบ่อยในเวชศาสตร์ครอบครัว |
title_sort |
การดูแลผู้สูงอายุที่หกล้มบ่อยในเวชศาสตร์ครอบครัว |
publishDate |
2022 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79846 |
_version_ |
1763492605980573696 |