บทบาทพยาบาล: การจัดการกับอาการปวดประจำเดือนชนิดปฐมภูมิ
ผู้หญิงเป็นจำนวนมากมีประสบการณ์ที่คุ้นเคยกับอาการปวดประจำเดือนซึ่งส่งผลต่อสภาพร่งกาย จิตใจตลอดจนคุณภาพชีวิต ทั้งๆ ที่อาการปวดประจำเดือนส่งผลกระทบทางลบต่อผู้หญิง โดยส่วนใหญ่ผู้หญิงมักเลือกที่จะเก็บอาการปวดไว้กับตนเอง โดยไม่เข้ารับการรักษาหรือคำปรึกษาจากผู้ให้บริการทางสุขภาพเพื่อบรรเทาอาการ บทความนี้ก...
Saved in:
Main Authors: | , , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Review Article |
Language: | Thai |
Published: |
2022
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79870 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
Summary: | ผู้หญิงเป็นจำนวนมากมีประสบการณ์ที่คุ้นเคยกับอาการปวดประจำเดือนซึ่งส่งผลต่อสภาพร่งกาย จิตใจตลอดจนคุณภาพชีวิต ทั้งๆ ที่อาการปวดประจำเดือนส่งผลกระทบทางลบต่อผู้หญิง โดยส่วนใหญ่ผู้หญิงมักเลือกที่จะเก็บอาการปวดไว้กับตนเอง โดยไม่เข้ารับการรักษาหรือคำปรึกษาจากผู้ให้บริการทางสุขภาพเพื่อบรรเทาอาการ บทความนี้กล่าวถึงสาเหตุ กลไก ความชุก ผลกระทบ และวิธีการจัดการต่ออาการปวดประจำเดือนชนิดปฐมภูมิ ซึ่งพยาบาลสามารถที่จะนำไปใช้เพื่อเป็นทางเลือกในการบรเทาอาการปวดประจำเดือนทั้งต่อตนเองรวมถึงผู้มารับบริการ ตลอดจนการนำไปประยุกต์ใช้ในการสร้างเสริมสุขภาพในกลุ่มผู้หญิงวัยรุ่นตลอดจนผู้หญิงที่อยู่ในวัยทำงานในการรับมือกับอาการปวดประจำเดือน |
---|